ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การชันสูตรพลิกศพ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Cuteystudio (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 62:
#* แพทย์ประจำโรงพยาบาลเอกชน หรือแพทย์ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมที่ขึ้น ทะเบียนเป็นแพทย์อาสาสมัครตามระเบียบของกระทรวงสาธารณสุข
 
แพทย์ที่ทำการชันสูตรพลิกศพ ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับกระบวนการยุติธรรมต้องมีใบชันสูตรบาดแผล ต้องแจ้งตำรวจ ตำรวจส่งใบชันสูตรมาให้ มีชื่อของผู้ป่วยระบุชื่อของ[[สถานีตำรวจ]]ชัดเจน ได้รับอันตรายอย่างไรเกิดเหตุวันไหน มีการลงชื่อของสารวัตรผู้รับผิดชอบคดี ด้านหลังจะเป็นใบชันสูตรบาดแผลของโรงพยาบาลเอกชนหรือโรงพยาบาลไหนก็ได้ ที่มีแพทย์ทางนิติเวชดูแลอยู่ ถึงแม้ไม่มีแพทย์นิติเวชก็มีแพทย์ธรรมดาดูแลอยู่ สามารถเขียนรายงานใบชันสูตรให้แก่พนักงานสอบสวนได้<ref name="การชันสูตรพลิกศพของแพทย์นิติเวช">การชันสูตรพลิกศพของแพทย์นิติเวช เอกสารประกอบการบรรยายหลักสูตรปลัดอำเภอผู้ที่ได้รับคัดเลือกฯ รุ่นที่ 1/2547 วันที่ 27 ก.ค. 2547 ณ โรงเรียนปลัดอำเภอ วิทยาลัยการปกครอง , ศ.คลินิกเกียรติคุณ นพ.สมชาย ผลเอี่ยมเอก, โรงพยาบาลศิริราช</ref>
 
แพทย์ทางนิติเวชจะมีประจำที่โรงพยาบาลศิริราชตลอด 24 ชั่วโมง สามารถไปถึงยังสถานที่ที่เกิดเหตุได้ตลอดเวลาเมื่อได้รับการแจ้งจาก[[เจ้าหน้าที่ตำรวจ]] ในบางครั้งอาจมีแพทย์ฝึกหัดร่วมในการชันสูตรพลิกศพด้วย เพื่อให้มีความรู้ ความชำนาญ ใบชันสูตรเกี่ยวข้องกับแพทย์และเจ้าหน้าที่ตำรวจบ้านเรียกว่า ''Police System'' เป็นระบบตำรวจ แพทย์ทางนิติเวชในเมืองไทยมีประมาณ 50 คน จึงมีความจำเป็นที่จะต้องใช้แพทย์ทั่ว ๆไปในการร่วมชันสูตรพลิกศพด้วย หากแพทย์มีใบชันสูตรศพมาด้วย แพทย์ก็จะติดต่อพนักงานสอบสวนเพื่อทำงานและเขียนให้พนักงานสอบสวนเช่นสอบถามว่าหากมีการข่มขืนกระทำชำเรา ปรากฏอย่างนี้ยืนยันได้หรือไม่ว่า เป็นการร่วมประเวณีที่ชัดเจนหรือเป็นการที่พนักงานสอบสวนติดต่อแผนกชันสูตรศพ