ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คุรุอรชุน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Chainwit. (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
Cuteystudio (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 24:
[[ไฟล์:Guru Arjun Dev being pronounced fifth guru.jpg|thumb|300px|ภาพวาดแสดงท่านบาบา บุดะ<ref>บนหน้า [[:en:Baba Buddha]] ระบุการออกเสียงชื่อไว้ว่า "Buddha ในที่นี้ถึงจะสะกดเหมือนกันแต่ออกเสียงไม่เหมือนกันกับ ''พุทธะ'' ในพระนามของพระโคตม'''พุทธ'''เจ้า" (While the English spelling is same, the word Buddha here is different than Gautam Buddha) ในที่นี้มาจากการทับศัพท์ปัญจาบ "dh" ซึ่งออกเสียงใกล้เคียง /ด/ ที่สุด ต่างจากในการทับศัพท์สันสกฤตเป็น /พ/; 4 มีนาคม 2019</ref> (Baba Buddha) แต่งตั้งคุรุอรชุน (Guru Arjan) เป็นคุรุศาสดา ท่านคุรุอรชุนคือชายผู้พนมมือทางขวาของภาพ]]
 
'''คุรุอรชุน''' ({{lang-en|Guru Arjan}}<ref name=mb12>{{cite book | last=Barnes | first=Michael | title=Interreligious learning : dialogue, spirituality, and the Christian imagination | publisher=Cambridge University Press | year=2012 | isbn=978-1-107-01284-4 | pages=245–246}}</ref><ref name="Dehsen 1999 14">{{cite book | last=Dehsen | first=Christian | title=Philosophers and religious leaders | publisher=Routledge | year=1999 | isbn=978-1-57958-182-4 | page=14}}</ref>; {{lang-pa|ਗੁਰੂ ਅਰਜੁਨ}}) หรือในบางเอกสารทับศัพท์อิงภาษาอังกฤษว่า '''คุรุอาร์จัน''' เป็นคุรุศาสดาองค์ที่ 5 ของ[[ศาสนาซิกข์]] ท่านได้รวบรวมบันทึกของซิกข์ขึ้นเป็นเอกสารลายลักษณ์อักษรและจัดเป็นหมวดหมู่ขึ้นครั้งแรก โดยเรียกเอกสารชุดที่ท่านรวบรวมเขีบนเขียนขึ้นนั้นว่า ''คัมภีร์ [[อดิ กรันตะ]]'' (Adi Granth) ซึ่งต่อมาได้ถูกต่อยอดเป็นคัมภีร์ศักดิ์สิทธิ์ของศาสนาซิกข์ "มหาคัมภีร์ [[คุรุกรันตสาหิบ]]" (Guru Granth Sahib)
 
ท่านเกิดในเมืองโคอินทวาล (Goindval) ใน[[แคว้นปัญจาบ]] ท่านเป็นบุตรคนสุดท้องของ[[คุรุรามดาส]] (ซึ่งในขณะนั้นยังใช้ชื่อว่า ภาอี เชฐา; Bhai Jetha) กับ มทา ภานี (Mata Bhani) ธิดาของ[[คุรุอมรทาส]]<ref>{{cite book|last=Mcleod|first=Hew|title=Sikhism|year=1997|publisher=Penguin Books|location=London |isbn=0-14-025260-6|page=28}}</ref> อาจกล่าวได้ว่าท่านเป็นคุรุศาสดาองค์แรกที่เป็นซิกข์แต่กำเนิด ต่างจากองค์ก่อน ๆ ที่เปลี่ยนศาสนามาจาก[[ศาสนาฮินดู]]เป็น[[ซิกข์]]ในภายหลัง<ref>{{cite book|author1=William Owen Cole|author2=Piara Singh Sambhi|title= The Sikhs: Their Religious Beliefs and Practices|url=https://books.google.com/books?id=zIC_MgJ5RMUC |year=1995| publisher= Sussex Academic Press|isbn=978-1-898723-13-4|page=24}}</ref> ท่านคุรุอรชุนดำรงตำแหน่งเป็นผู้นำศาสนาและจิตวิญญาณของชาวซิกข์ร่วม 25 ปี นอกจากนี้ท่านยังสืบทอดการก่อสร้างวิหารต่อจาก[[คุรุรามดาส]]ผู้ขุดสระน้ำอมฤตและสร้างเมือง[[อมฤตสาร์]] โดยท่านได้ก่อสร้างดะบาสาหิบจนสมบูรณ์ ซึ่งต่อมาได้พัฒนาเป็น[[หริมันทิรสาหิบ]] แห่ง[[อมฤตสาร์]]<ref name="ShackleMandair2013xv">{{cite book|author1=Christopher Shackle|author2=Arvind Mandair|title=Teachings of the Sikh Gurus: Selections from the Sikh Scriptures |url=https://books.google.com/books?id=VvoJV8mw0LwC |year=2013|publisher=Routledge|isbn=978-1-136-45101-0|pages=xv–xvi}}</ref><ref name="Arshi1989p5">{{cite book|author=Pardeep Singh Arshi|title=The Golden Temple: history, art, and architecture|url=https://books.google.com/books?id=rcmfAAAAMAAJ|year=1989|publisher=Harman|isbn=978-81-85151-25-0|pages=5–7}}</ref><ref>{{cite book|author1=Louis E. Fenech|author2=W. H. McLeod|title=Historical Dictionary of Sikhism |url=https://books.google.com/books?id=xajcAwAAQBAJ |year=2014|publisher=Rowman & Littlefield Publishers|isbn=978-1-4422-3601-1|page=33}}</ref> และท่านคุรุอรชุนยังได้ประมวลเพลงสวดภาวนาของคุรุศาสดาองค์ก่อนหน้าและคำสอนต่าง ๆ เป็นคัมภีร์อดิ กรันตะ และอัญเชิญประดิษฐานใน[[หริมันทิรสาหิบ]]<ref name="ShackleMandair2013xv"/>
บรรทัด 30:
ท่านคุรุอรชุนยังพัฒนาระบบ "[[มสันท์]]" (Masand) ซึ่ง[[คุรุรามดาส]]ได้วางรากฐานไว้ขึ้นเสียใหม่ โดยเสนอระบบการบริจาคเงินของซิกข์ให้บริจาคทรัพย์สิน สินค้า หรือการบริการเป็นจิตอาสา ให้ได้ 1 ใน 10 ของที่ตนมีถวายแด่องค์กรของซิกข์ หากไม่พร้อมที่จะบริจาคจำนวนเท่านั้นก็มิได้เป็นปัญหาอะไร ให้บริจาคเท่าที่ตนให้ได้และไม่ทรมานตนเอง นอกจากการสร้างกองทุน "[[ทัศวันธ์]]" (Dasvand) ที่รับบริจาคแล้ว ท่านคุรุยังริเริ่มระบบการศึกษาศาสนาซิกข์อย่างเป็นระบบขึ้นในมสันต์ เพื่อเผยแผ่ศาสนาไปยังคนรุ่นใหม่ที่สนใจใน[[ภูมิภาคปัญจาบ]]
 
ในสมัยของท่านนั้น กองทุนทาสวันต์ถือได้ว่ามั่งคั่งเป็นอย่างมาก สามารถนำไปสร้างศาสนสถาน ([[คุรุทวารา]]) จำนวนมาก และ "ลังเกอร์" หรือ "ลังกัร" (Lankar) ที่คนไทยเรียกกันว่า [[โรงครัวพระศาสดา]] ซึ่งเป็นโรงครัวอาหารแจกจ่ายโดยไม่เสียค่าใช้จ่ายอีกเช่นกัน<ref>DS Dhillon (1988), [https://books.google.com/books?id=osnkLKPMWykC&pg=PA205&f=false Sikhism Origin and Development] Atlantic Publishers, pp. 213-215, 204-207</ref>
 
ท่านคุรุอรชุนถูกจับโดยพระราชกระแสของ[[จักรพรรดิชะฮันคีร์]] แห่ง[[จักรวรรดิโมกุล]] และถูกร้องขอให้เปลี่ยนศาสนาเป็น[[อิสลาม]]<ref name=ps5/><ref name=lkca/> ซึ่งท่านยืนยันปฏิเสธ จนสุดท้ายถูกทรมานจนถึงแก่ชีวิตในปี ค.ศ. 1606<ref name=ps5/><ref name=thackston /> นักประวัติศาสตร์ยังเป็นที่ถกเถียงว่าท่านคุรุเสียชีวิตจากการทรมานอย่างหนักหรือจากการถูกสั่งประหารชีวิตด้วยการทำให้จมน้ำหรือกดน้ำ<ref name=ps5/><ref>Louis E. Fenech, Martyrdom in the Sikh Tradition, Oxford University Press, pp. 118-121</ref> การสละชีพเพื่อความเชื่อ (matyrdom) ของท่านนั้นถือเป็นเหตุการณ์สำคัญที่สุดเหตุการณ์หนึ่งในประวัติศาสตร์ซิกข์<ref name=ps5/><ref name=whm/> ปัจจุบันบริเวณที่เชื่อกันว่าเป็นที่สำเร็จโทษของท่าน ได้สร้างเป็นคุรุทวาราชื่อว่า [[Gurdwara Dera Sahib|คุรุทวาราเดราสาหิบ]] (Gurdwara Dera Sahib) ปัจจุบันตั้งอยู่เยื้องกับ[[มัสยิดบาดชาฮี]] ในเมือง[[ละฮอร์]] [[ประเทศปากีสถาน]]