ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เอนไซม์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Rameshe999 (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
Thailnd (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 4:
[[ไฟล์:Triosephosphate_isomerase.jpg|thumb|240px|แผนภาพแบบริบบินของเอนไซม์ไทรโอสฟอสเฟตไอโซเมอเรส]]
[[ไฟล์:Factor D Enzyme.jpg|thumb|right|240px|ผลึกเอนไซม์แฟกเตอร์ ดี ที่ควบคุมระบบภูมิคุ้มกัน]]
'''เอนไซม์''' ([[ภาษาอังกฤษพื้นฐาน|'''อังกฤษ''']]: enzyme) เป็น[[โปรตีนรับรส|'''โปรตีน''']] 99 เปอร์เซนต์ เป็น ส่วนใหญ่ ที่ทำหน้าที่เร่ง[[ปฏิกิริยาเคมี|<sup>ปฏิกิริยาเคมี</sup>]] เป็นคำใน[[กรีนแลนด์|<sup>ภาษากรีก</sup>]] ένζυμο หรือ ''énsymo'' ซึ่งมาจาก ''én'' ("ที่" หรือ "ใน") และ ''simo'' ("[[:en:leaven|<sup>en:leaven</sup>]]" หรือ "[[:en:yeast|''<sup>en:yeast</sup>'']]")
 
เอนไซม์มีความสำคัญและจำเป็นสำหรับ[[สิ่งมีชีวิตสร้างอาหารเองได้|<sup>'''''สิ่งมีชีวิต'''''</sup>]] เพราะว่าปฏิกิริยาเคมีส่วนใหญ่ใน[[เซลล์ (ชีววิทยา)การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์|'''''<sup>เซลล์</sup>''''']]จะเกิดช้ามาก หรือถ้าไม่มีเอนไซม์อาจทำให้ผลิตภัณฑ์จากปฏิกิริยากลายเป็นสารเคมีชนิดอื่น ซึ่งถ้าขาดเอนไซม์ระบบการทำงานของเซลล์จะผิดปกติ (malfunction) เช่น
 
* การผ่าเหล่า (mutation)
บรรทัด 18:
* โครงสร้างจตุรภูมิ (quaternary structure)
 
ตัวอย่างเช่น [[<sup>''ฟีนิลคีโตนูเรีย]]''</sup> (phenylketonuria) เกิดจากการงานบกพร่องของ เอนไซม์[[ฟีนิลอะลานีน ไฮดรอกซิเลส]] (phenylalanine hydroxylase) ที่เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาการสลายตัวของ[[<sup>ฟีนิลอะลานีน]]</sup>เป็นผลให้เกิดการสะสม[[<sup>ฟีนิลอะลานีน]]</sup>มากและจะแสดงออกมาใน [[ความผิดปรกติทางจิต]] (mental retardation)
 
* เหมือนตัวเร่งปฏิกิริยาทั่วไป เอนไซม์ ทำงานโดยการลด[[พลังงานกระตุ้น]]<code>'''''[[พลังงานกระตุ้น]]'''''</code> (activation energy)
ให้เกิดปฏิกิริยาเคมี นอกจากนี้ยังเร่งให้เกิดเร็วขึ้นซึ่งสามารถทำให้เร็วได้ถึงหนึ่งในหลายล้านส่วน
* เอนไซม์ ไม่มีผลต่อ[[<sup>ความสมดุล]]</sup> (equilibrium) ของปฏิกิริยาเคมี
* เอนไซม์ ไม่มีผลต่อพลังงานสัมพัทธ์ (relative energy) ระหว่างสารที่ได้จากปฏิกิริยา (products) และสารที่ทำปฏิกิริยา (reagents)
* เมื่อเทียบกับตัวเร่งปฏิกิริยาอื่นแล้ว เอนไซม์ จะมีความจำเพาะต่อปฏิกิริยาหนึ่งปฏิกิริยาใดมากกว่า
* การทำงานของ เอนไซม์ จะถูกแทรกแซงได้โดยโมเลกุลของสารประกอบอื่นได้ ถ้าโมเลกุลของสารประกอบที่มาแทรกแซงทำให้การทำงานของ เอนไซม์ ดีขึ้น เราเรียกสารประกอบนั้นว่า '''แอกติเวเตอร์ ''' (activators) และถ้าโมเลกุลของสารประกอบที่มาแทรกแซงทำให้การทำงานของ เอนไซม์ ลดลง เราเรียกสารประกอบนั้นว่า อินฮิบิเตอร์ (Inhibitors) อินฮิบิเตอร์ ที่ทำให้เอนไซม์หยุดทำงานถาวรเรียกว่า''อินฮิบิเตอร์ สังหาร'' (Suicide inhibitors) อินฮิบิเตอร์ มีทั้งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติและมนุษย์สร้างขึ้น [[ยานอวกาศ|<code><sub>'''''ยา'''''</sub></code>]]หลายตัวเป็นเอ็นไซม์อินฮิบิเตอร์ เช่น [[แอสไพริน|<sup>แอสไพริน</sup>]] ยับยั้งเอนไซม์ที่เป็นตัวนำส่ง[[<code><sup>''การอักเสบ]][[โปรสตาแกลนดิน อานาลอก|'''โปรสตาแกลนดิน''']]''</sup></code> ทำให้เกิดการระงับความเจ็บปวดและการอักเสบ
* เอนไซม์ ที่ใช้ในชีวิตประจำวันเช่น ผงซักฟอกที่ไปเร่งปฏิกิริยาเคมีที่เกี่ยวข้องกับการทำความสะอาดผ้า (เช่นการทำลายรอยเปื้อนที่เกิดจากแป้ง)
* มี เอนไซม์ มากกว่า 5,000 ตัว ที่มีชื่อแตกต่างกันโดยการตั้งชื่อจะลงท้ายด้วย ''-ase'' และตัวชื่อ เอนไซม์ จะตั้งชื่อตามสารที่มันจะเปลี่ยน เช่น [[แลคเตส]] (lactase) เป็น เอนไซม์ ที่เร่งการสะลายตัวของ[[<code>'''แล็กโทส]]'''</code> (lactose)
 
== นิรุกติศาสตร์ และประวัติ ==