ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ฤดูพายุไซโคลนภูมิภาคออสเตรเลีย พ.ศ. 2563–2564"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 4:
| ปี=2021
| ระบบแรกก่อตัว=24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2563
| ระบบสุดท้ายสลายตัว=ฤดูกาลยังดำเนินอยู่ในปัจจุบัน24 เมษายน พ.ศ. 2564
| ชื่อพายุมีกำลังมากที่สุด=ลูคัสนิรัน
| ความกดอากาศของพายุมีกำลังมากที่สุด=985931
| ลมของพายุมีกำลังมากที่สุด=55110
| ความเร็วลมโดยเฉลี่ย=10
| ความแปรปรวนทั้งหมด=
| พายุดีเปรสชันทั้งหมด=1626 ลูก
| พายุไต้ฝุ่นทั้งหมด=58 ลูก
| พายุรุนแรงทั้งหมด=3 ลูก
| ผู้เสียชีวิต=ไม่มีทั้งหมด 229
| ความเสียหาย=10680.7
| ห้าฤดูกาล=[[ฤดูพายุไซโคลนภูมิภาคออสเตรเลีย พ.ศ. 2561–2562|2561–62]], [[ฤดูพายุไซโคลนภูมิภาคออสเตรเลีย พ.ศ. 2562–2563|2562–63]], '''2563–64''', [[ฤดูพายุไซโคลนภูมิภาคออสเตรเลีย พ.ศ. 2564–2565|2564–65]], [[ฤดูพายุไซโคลนภูมิภาคออสเตรเลีย พ.ศ. 2565–2566|2565–66]]
}}
'''ฤดูพายุไซโคลนภูมิภาคออสเตรเลีย พ.ศ. 2563–2564''' เป็นฤดูกาลในปัจจุบันอดีตที่เคยมีการก่อตัวของ[[พายุหมุนเขตร้อน]] ภายในมหาสมุทรอินเดียและมหาสมุทรแปซิฟิก ที่ระหว่าง 90°ตะวันออก ถึง 160°ตะวันออก โดยฤดูกาลนี้ได้เริ่มนับอย่างเป็นทางการ ในวันที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2563 และไปสิ้นสุดในวันที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2564 อย่างไรก็ตาม พายุหมุนเขตร้อนสามารถก่อตัวได้ตลอดเวลาตั้งแต่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2563 ถึง 30 มิถุนายน พ.ศ. 2564 และจะถูกนับรวมในฤดูกาลนี้ด้วย ในระหว่างฤดูกาล พายุหมุนเขตร้อนจะถูกติดตามอย่างเป็นทางการโดย[[สำนักอุตุนิยมวิทยา]]ออสเตรเลีย <small>(BOM)</small>, [[สำนักอุตุนิยมวิทยา สภาพภูมิอากาศ และธรณีฟิสิกส์แห่งอินโดนีเซีย]] <small>(BMKG)</small> ใน[[จาการ์ตา]] [[ประเทศอินโดนีเซีย]] และศูนย์บริการสภาพอากาศแห่งชาติ[[ปาปัวนิวกินี]] ใน[[พอร์ตมอร์สบี]] ส่วน[[ศูนย์เตือนไต้ฝุ่นร่วม]]ของกองทัพเรือสหรัฐ <small>(JTWC)</small> ใน[[รัฐฮาวาย]] [[สหรัฐ]] และศูนย์บริการทางอุตุนิยมวิทยาแห่งชาติอื่น ๆ ประกอบด้วย [[เมทเซอร์วิซ]]แห่ง[[ประเทศนิวซีแลนด์]], [[เมเตโอ-ฟร็องส์]]แห่ง[[ประเทศฝรั่งเศส]]บนเกาะ[[เรอูนียง]] และ[[กรมอุตุนิยมวิทยาฟีจี]] ก็ต่างเฝ้าติดตามส่วนของแอ่งในระหว่างฤดูกาลด้วยแบบไม่เป็นทางการ
__TOC__
{{clear}}
บรรทัด 205:
|1-min winds=140
|Pressure=931
|}}
{{clear}}
 
=== พายุไซโคลนโอเดตต์ ===
{{กล่องข้อมูล ฤดูพายุหมุนเขตร้อน (เล็ก)
|Basin=Aus
|Image=Odette 2021-04-09 0555Z.jpg
|Track=Odette 2021 track.png
|Formed=2
|Dissipated=10 เมษายน
|10-min winds=45
|1-min winds=50
|Pressure=988
}}
{{clear}}
 
=== พายุไซโคลนกำลังแรงเซอโรจา ===
{{กล่องข้อมูล ฤดูพายุหมุนเขตร้อน (เล็ก)
|Basin=Aus
|Image=Seroja 2021-04-11 0605Z.jpg
|Track=Seroja 2021 track.png
|Formed=3
|Dissipated=12 เมษายน
|10-min winds=65
|1-min winds=70
|Pressure=971
}}
{{clear}}
เส้น 210 ⟶ 236:
== รายชื่อพายุ ==
=== สำนักอุตุนิยมวิทยา ===
ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2551–52 มีรายชื่อพายุเพียงชุดเดียวที่สำนักอุตุนิยมวิทยาออสเตรเลียประกาศใช้ โดย[[สำนักอุตุนิยมวิทยา|สำนักอุตุนิยมวิทยาออสเตรเลีย]]ได้แบ่งศูนย์เตือนภัยพายุหมุนเขตร้อนในประเทศออสเตรเลียออกเป็นสามศูนย์ ได้แก่ ศูนย์[[เพิร์ท (ออสเตรเลีย)|เพิร์ท]], ศูนย์[[ดาร์วิน (เมือง)|ดาร์วิน]] และศูนย์[[บริสเบน]]<ref name="TCOP"/> โดยมีหน้าที่ตรวจสอบพายุหมุนเขตร้อนทั้งหมดที่ก่อตัวในภูมิภาคออสเตรเลีย รวมถีงทำหน้าที่ออกคำแนะนำพิเศษให้ทั้งพื้นที่รับผิดชอบของ TCWC จาการ์ตาหรือ TCWC พอร์ตมอร์สบีด้วย โดยในฤดูกาลนี้ ชื่อพายุในรายการของออสเตรเลีย ถูกนำมาใช้ 7 ชื่อ
{| width="90%"
|-
เส้น 220 ⟶ 246:
* แมเรียน
* นิรัน
* {{tcname unused|โอเดตต์}}
|
* {{tcname unused|โอเดตต์}}
* {{tcname unused|แพดดี}}
* {{tcname unused|รูบี}}
* {{tcname unused|เซท}}
* {{tcname unused|ทิฟฟานี}}
* {{tcname unused|เวอร์นัน}}
|}
 
=== TCWC จาการ์ตา ===
ศูนย์เตือนพายุหมุนเขตร้อนใน[[จาการ์ตา]] ทำการติดตามพายุหมุนเขตร้อนในขอบเขตตั้งแต่[[เส้นศูนย์สูตร]]ลงไปทางใต้ถึง[[เส้นขนานที่ 11 องศาใต้]] และระหว่าง[[เส้นเมริเดียนที่ 90 องศาตะวันออก]]ไปจนถึง [[เส้นเมริเดียนที่ 145 องศาตะวันออก|145 องศาตะวันออก]] เมื่อพายุดีเปรสชันเขตร้อนใดทวีกำลังเป็นพายุไซโคลนในขอบเขตรับผิดชอบของ JTWC จาการ์ตานี้ พายุลูกนั้นจะได้รับชื่อจากทางศูนย์ฯ<ref name="TCOP">{{cite web|url=http://www.wmo.int/pages/prog/www/tcp/documents/TCP24_RAVOpPlan_Revised_final.pdf|publisher=WMO|title=Tropical Cyclone Operational plan for the South Pacific & Southeast Indian Ocean, 2014 Edition|accessdate=2016-06-12}}</ref> โดยในฤดูกาลนี้ ชื่อพายุในรายการของ TCWC จาการ์ตา ถูกนำมาใช้ 1 ชื่อ
{| width="90%"
|-
|
* {{tcname unused|เซอโรจา}}
* {{tcname unused|เตอราไต}}
* {{tcname unused|อังเกร็ก}}
* {{tcname unused|บากุง}}
* {{tcname unused|เจิมปากา}}
|}
 
=== TCWC พอร์ตมอร์สบี ===
พายุหมุนเขตร้อนที่ก่อตัวขึ้นในระหว่างขอบเขตตั้งแต่[[เส้นศูนย์สูตร]]ลงไปทางใต้จนถึงเส้นขนานที่ 11 องศาใต้ และระหว่าง[[เส้นเมริเดียนที่ 151 องศาตะวันออก]]ไปทางตะวันออกจนถึง[[เส้นเมริเดียนที่ 160 องศาตะวันออก]] จะได้รับชื่อจากศูนย์เตือนพายุหมุนเขตร้อนใน[[พอร์ตมอร์สบี]] [[ประเทศปาปัวนิวกินี]] บริเวณนี้บริเวณที่พบการก่อตัวของพายุหมุนเขตร้อนได้ยาก และไม่มีพายุหมุนเขตร้อนก่อตัวและมีกำลังขึ้นจนได้รับชื่อมาตั้งแต่ปี [[ฤดูพายุไซโคลนภูมิภาคออสเตรเลีย พ.ศ. 2550–2551#พายุไซโคลนกูบา|พ.ศ. 2550]] แล้ว<ref name="Padgett October 07">{{cite web|url=http://www.australiasevereweather.com/cyclones/2008/summ0713a.htm|author=Gary Padgett|publisher=Australian Severe Weather|title=Monthly Global Tropical Cyclone Summary October|year=2008|accessdate=2013-07-01}}</ref> โดยในฤดูกาลนี้ ไม่มีชื่อพายุในรายการของ TCWC พอร์ตมอร์สบี ถูกนำมาใช้เลย
{| width="90%"
|-
|
* {{tcname unused|อาลู}}
* {{tcname unused|บูรี}}
* {{tcname unused|โดโด}}
* {{tcname unused|อีเมา}}
* {{tcname unused|เฟเร}}
|}
 
== ดูเพิ่ม ==