ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ชาวกะเหรี่ยง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ปชาธิปชัยทอง (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 31:
[[ไฟล์:Karen village.jpg|thumb|หมู่บ้านกะเหรี่ยงใน[[ภาคเหนือ]]ของไทย]]
ในประเทศไทยมีชาวกะเหรี่ยง 1,993 [[หมู่บ้าน]] 69,353 หลังคาเรือน ประชากรทั้งสิ้นประมาณ 352,295 คน คิดเป็นร้อยละ 46.80 ของจำนวนประชากรกลุ่มชาติพันธุ์ในประเทศไทย อาศัยอยู่ใน 15 จังหวัด ของ[[ภาคเหนือ]]และ[[ภาคตะวันตก]] ได้แก่ [[จังหวัดกาญจนบุรี|กาญจนบุรี]], [[จังหวัดกำแพงเพชร|กำแพงเพชร]], [[จังหวัดเชียงราย|เชียงราย]], [[จังหวัดเชียงใหม่|เชียงใหม่]], [[จังหวัดตาก|ตาก]], [[จังหวัดประจวบคีรีขันธ์|ประจวบคีรีขันธ์]], [[จังหวัดเพชรบุรี|เพชรบุรี]], [[จังหวัดแพร่|แพร่]], [[จังหวัดน่าน|น่าน]], [[จังหวัดแม่ฮ่องสอน|แม่ฮ่องสอน]], [[จังหวัดราชบุรี|ราชบุรี]], [[จังหวัดลำปาง|ลำปาง]], [[จังหวัดลำพูน|ลำพูน]], [[จังหวัดสุโขทัย|สุโขทัย]], [[จังหวัดสุพรรณบุรี|สุพรรณบุรี]] และ[[จังหวัดอุทัยธานี|อุทัยธานี]]
 
คำว่า กะเหรี่ยง กะเร็น สันนิษฐานว่า มาจากภาษามอญ ကရေၚ် ที่ใช้เรียก ชาวปกาเกอะญอ (ส่วนมากเป็นกะเหรี่ยงพุทธ) โดยออกเสียงว่า เกรียง หรือ เกรียน..แปลว่า เรียบ ซึ่งตรงกับความหมายของคำว่า ปกาเกอะญอ ซึ่งแปลว่า คนที่มีชีวิตเรียบง่ายสมถะ ..ในภาษาไทย ใช้คำว่า เกรียง เป็นชื่อเครื่องมือช่างปูนที่ใช้ในการฉาบผิวให้เรียบ และ เกรียน คือ ลักษณะของการตัดผมอย่างสั้นเรียบง่ายกะเรียง และอาจมีความเชื่อมโยงกับ ชื่อกลุ่มผู้นับถือศาสนาพุทธนิกายมหายานที่มีอยู่ใน ธิเบต เนปาล ที่เรียกว่า กะยูปา หรือ ปากะญู ซึ่งมักแต่งกายด้วยชุดสีขาว และมีวิถีชีวิตอย่างเรียบง่ายสมถะ ซึ่งความเชื่อนี้อาจแพร่หลายเข้ามาในดินแดนสุวรรณภูมิเมื่อกว่าพันปีก่อน
กะเหรี่ยงมีด้วยกันหลายกลุ่มย่อย และมีชื่อเรียกต่าง ๆ กัน ทั้งยังมีประเพณี ความเชื่อ ความเป็นอยู่ที่แตกต่างกันด้วย กะเหรี่ยงในประเทศไทยมี มี 4 กลุ่มย่อยคือ