ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปลาเผาะ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
BeckNoDa (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 22:
ปลาวัยอ่อนกินแมลง ปลาตัวเต็มวัยกินพืชเป็นส่วนใหญ่ อาจกินแมลงและหอยบ้าง พบใน[[แม่น้ำโขง]]ถึง[[อำเภอเชียงของ]] [[จังหวัดเชียงราย]] และใน[[แม่น้ำเจ้าพระยา]]<ref name=Fishbase>Froese, Rainer, and Daniel Pauly, eds. (2012). [http://www.fishbase.org/summary/Pangasius-bocourti.html ''"Pangasius bocourti"''] in FishBase. February 2012 version.</ref> พบน้อยใน[[แม่น้ำบางปะกง]] บริโภคโดยการปรุงสดและรมควัน และยังสามารถเลี้ยงเป็นปลาสวยงามได้อีกด้วย ในขณะนี้[[กรมประมง]]มีนโยบายส่งเสริมให้เกษตรกรโดยเฉพาะใน[[ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ]]เลี้ยงปลาชนิดนี้เป็นปลาเศรษฐกิจชนิดใหม่ ขณะที่ต่างประเทศเช่น[[เวียดนาม]]ก็ได้เลี้ยงเป็นปลาเศรษฐกิจเช่นกัน<ref>[http://www.tradepointthailand.org/n_detail.php?id=482 ปลาเผาะไทยล็อตแรกช่วงชิงตลาดเวียดนาม ]</ref>
 
ปลาเผาะยังมีชื่อเรียกต่าง ๆ อีกมากมาย เช่น "ปลาโมง", "ปลาโมงยาง", "ปลายาง" หรือ "ปลาอ้ายด้อง" ชื่อในวงการปลาสวยงามเรียกว่า "ปลาบึกโขง" ใน[[ภาษาเวียดนาม]]เรียกว่า "ก๊าบาซา" ({{lang|vi|''cá ba sa''}}) เป็นต้น
 
== ดูเพิ่ม ==