ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทฤษฎีเซต"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Prame tan (คุย | ส่วนร่วม)
บทนำใหม่
บรรทัด 2:
[[ไฟล์:Venn A intersect B.svg|thumb|[[แผนภาพเวนน์]]แสดง[[อินเตอร์เซกชัน]]ระหว่างเซตสองเซต]]
 
'''ทฤษฎีเซต''' เป็นสาขาหนึ่งของคณิตศาสตร์ที่ศึกษาเกี่ยวกับเรื่อง[[เซต (คณิตศาสตร์)|เซต]] แนวคิดพื้นฐานของเซตคือการรวบรวมวัตถุไว้ด้วยกัน ซึ่งได้พัฒนาเป็น[[รากฐานของคณิตศาสตร์]]สมัยใหม่ แทบทุกอย่างในคณิตศาสตร์สามารถนิยามได้โดยใช้เซต
'''ทฤษฎีเซต''' คือ[[ทฤษฎี]]ทาง[[คณิตศาสตร์]]ที่เกี่ยวกับเรื่อง[[เซต (คณิตศาสตร์)|เซต]] ซึ่งใช้นำเสนอการรวบรวม[[วัตถุนามธรรม]] ทฤษฎีเซตเป็นแนวความคิดของการรวบรวมวัตถุในชีวิตประจำวัน และใช้สอนใน[[โรงเรียนประถมศึกษา]]ซึ่งบ่อยครั้งใช้[[แผนภาพเวนน์]]เป็นสื่อช่วยสอน ทฤษฎีเซตใช้[[ภาษา]]ในการอธิบายวัตถุทางคณิตศาสตร์เป็นธรรมเนียมการสอนคณิตศาสตร์สมัยใหม่ ทฤษฎีเซตเป็นหนึ่งใน[[รากฐานทางคณิตศาสตร์]]ที่ยอมรับกันโดยทั่วไป เหมือนเช่น[[ตรรกศาสตร์]]และ[[แคลคูลัสภาคแสดง]] ซึ่งทำให้สามารถสร้างวัตถุทางคณิตศาสตร์ขึ้นมาใหม่โดยใช้ "เซต" และ "ความเป็นสมาชิกของเซต" เป็นตัวนิยาม ทฤษฎีเซตเองนั้นก็เป็นสาขาหนึ่งของคณิตศาสตร์ และยังคงเป็นสาขาที่สำคัญอยู่สำหรับการวิจัย
 
การศึกษาเซตเริ่มต้นโดย [[เกออร์ค คันทอร์]] และ [[ริชารด์ เดเดคินด์]] ใน่ช่วงหลังของศตวรรษที่ 19 แต่ต่อมาพบว่าทฤษฎีเซตสามัญนั้นก่อให้เกิด[[ปฏิทรรศน์]]ตามมา เช่น ปฏิทรรศน์ของรัสเซิลล์ จึงทำให้นักคณิตศาสตร์นิยามเซตผ่านระบบสัจพจน์แทน ระบบสัจพจน์ของเซตที่เป็นที่นิยมมากที่สุดคือ [[ทฤษฎีเซตแซร์เมโล-แฟรงเคิล]] ทั้งแบบที่มีและไม่มี[[สัจพจน์การเลือก]]
 
นอกจากทฤษฎีเซตจะเป็นรากฐานของคณิตศาสตร์แล้ว ทฤษฎีเซตเองนั้นก็เป็นสาขาหนึ่งของคณิตศาสตร์ที่ยังได้รับการวิจัยค้นตว้าอย่างต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน
 
== ทฤษฎีเซตเชิงสัจพจน์ ==