ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปฏิบัติการบาร์บาร็อสซา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
มีการเขียนผิดพลาด
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Matable (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 50:
}}
{{การทัพ แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)}}
'''ปฏิบัติการบาร์บาร็อสซา''' ({{lang-de|Unternehmen Barbarossa}}, {{lang-en|Operation Barbarossa}}, {{lang-ru|Операция Барбарросса}}) เป็นรหัสนามสำหรับการบุกครอง[[สหภาพโซเวียต]]ของ[[ฝ่ายอักษะ]] ซึ่งเริ่มต้นขึ้น เมื่อวันอาทิตย์ ที่ 22 มิถุนายน ค.ศ. 1941 ในช่วง[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] ปฏิบัติการดังกล่าวได้นำไปสู่การกระทำเพื่อเป้าหมายทางด้านอุดมการณ์ของ[[นาซีเยอรมนี]]ในการพิชิตดินแดนสหภาพโซเวียตทางด้านตะวันตกเพื่อที่จะสร้างพื้นที่อยู่อาศัยใหม่ให้กับ[[ชาวเยอรมัน]] [[เกเนอราลพลานอ็อสท์]]ของเยอรมันนั้นมีเป้าหมายที่จะใช้ประชากรที่พิชิตมาได้บางส่วนมาเป็นแรงงานเกณฑ์สำหรับความพยายามทำสงครามของฝ่ายอักษะ ในขณะที่ได้เข้ายึดแหล่งบ่อน้ำมันสำรองบนเทือกเขา[[คอเคซัส]] รวมทั้งทรัพยากรทางเกตรกรรมของดินแดนต่าง ๆ ของโซเวียต เป้าหมายสูงสุดของพวกเขา รวมถึงท้ายที่สุดแล้ว ได้ทำการกวาดล้าง การถูกทำให้เป็นทาส การถูกทำให้เป็นเยอรมัน และการเนรเทศต่อ[[ชาวสลาฟ]]จำนวนมากมายไปยัง[[ไซบีเรีย]] และเพื่อสร้าง[[เลเบินส์เราม์]](พื้นที่อยู่อาศัย) สำหรับเยอรมนี{{sfn|Rich|1973|pp=204–221}}{{sfn|Snyder|2010|p=416}}
'''ปฏิบัติการบาร์บาร็อสซา''' ({{lang-de|Unternehmen Barbarossa}}, {{lang-en|Operation Barbarossa}}, {{lang-ru|Операция Барбарросса}}) เป็นชื่อรหัสสำหรับแผนการบุก[[สหภาพโซเวียต]]ของ[[นาซีเยอรมนี]] ระหว่าง[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] ปฏิบัติการดังกล่าวเริ่มต้นขึ้นในวันที่ 22 มิถุนายน ค.ศ. 1941 ชื่อปฏิบัติการบาร์บาร็อสซาถูกตั้งชื่อตามพระนามของ[[จักรพรรดิฟรีดริชที่ 1 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์|จักรพรรดิฟรีดริช บาร์บาร็อสซา]] แห่ง[[จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์]] ผู้นำ[[สงครามครูเสดครั้งที่สาม]] ในช่วงคริสต์ศตวรรรษที่ 12
 
ในช่วงสองปีที่นำไปสู่การบุกครอง เยอรมนีและสหภาพโซเวียตได้ลงนามในสนธิสัญญา[[กติกาสัญญาโมโลตอฟ–ริบเบินทร็อพ|ทางการเมือง]]และ[[ความสัมพันธ์ทางด้านเศรษฐกิจของนาซี-โซเวียต (ค.ศ. 1934-1941)|เศรษฐกิจ]]เพื่อเป้าหมายทางยุทธศาสตร์ อย่างไรก็ตาม [[กองบัญชาการใหญ่แห่งแวร์มัคท์]](OKW) ได้เริ่มวางแผนการบุกครองสหภาพโซเวียตในเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 1940 (ภายใต้รหัสนามว่า [[ปฏิบัติการอ็อทโท]]) ซึ่ง[[อดอล์ฟ ฮิตเลอร์]]ได้มอบอำนาจ เมื่อวันที่ 18 ธันวาคม ค.ศ. 1940 ในช่วงระหว่างปฏิบัติการดังกล่าว จำนวนกำลังพลประมาณสามล้านนายของฝ่ายอักษะ ซึ่งเป็นกองกำลังรุกรานที่ใหญ่ที่สุดในประวัติศาตร์สงคราม การบุกครองดินแดนสหภาพโซเวียตทางด้านตะวันตกตามแนวรบระยะทางประมาณ 2,900 กิโลเมตร (1,800 ไมล์) กับยานพาหนะยานยนต์ 600,000 คัน และจำนวนม้ากว่า 600,000 ตัว สำหรับปฏิบัติการที่ไม่ใช่การสู้รบ การบุกดังกล่าวได้ขยายตัวอย่างมากในสงครามโลกครั้งที่สอง ทั้งในทางด้านภูมิศาสตร์และในการก่อตัวของแนวร่วมฝ่ายสัมพันธมิตร รวมทั้งสหภาพโซเวียต
วัตถุประสงค์ของปฏิบัติการนี้ คือ การพิชิต[[สหภาพโซเวียต]]ทางภาคพื้นยุโรปทั้งหมด ซึ่งถือเอาแนวที่ลากเส้นระหว่าง[[อาร์ฮันเกลสค์]] (Arkangelsk) ที่อยู่ทางตอนเหนือของรัสเซีย ลงไปจนถึงเมือง[[อัสตราฮัน]] (Astrakhan) ที่อยู่ริมสามเหลี่ยมปาก[[แม่น้ำวอลกา]] โดยแนวนี้ถูกเรียกว่า[[แนวเอ-เอ]] (A-A line) ปฏิบัติการบาร์บาร็อสซาไม่ประสบความสำเร็จอย่างที่ฮิตเลอร์คาดหวังไว้ ในทางยุทธวิธีแล้ว กองทัพเยอรมันก่อให้เกิดความเสียหายใหญ่หลวงต่อสหภาพโซเวียต โดยการยึดครองพื้นที่เศรษฐกิจสำคัญของประเทศเอาไว้<ref>A.J.P Taylor & Colonel D. M Proektor, p106</ref> อย่างไรก็ตาม ไม่นานหลังจากปฏิบัติการบาร์บาร็อสซา กองทัพเยอรมันไม่อาจเป็นฝ่ายบุกในแนวรบด้านตะวันออกอีกต่อไป<ref>A.J.P Taylor & Colonel D. M Proektor 1974, p. 107</ref> และหลังจากนั้น ก็ประสบความพ่ายแพ้มาตลอด<ref>{{cite web | first = Konstantin | last = Simonov | title = Records of talks with Georgi Zhukov, 1965–1966 | url = http://www.hrono.ru/dokum/197_dok/1979zhukov2.html | year = 1979 | publisher = Hrono}}</ref><ref>Life and Death in Besieged Leningrad, 1941–44 (Studies in Russian and Eastern European History), edited by John Barber and Andrei Dzeniskevich. New York: Palgrave Macmillan, 2005 (hardcover, ISBN 1-4039-0142-2). </ref><ref>The siege of Leningrad. By Alan Wykes. Ballantines Illustrated History of WWII, 3rd edition, 1972. Pages 9-61, and, Scorched Earth. (pages 205 - 240) By Paul Carell. Schiffer Military History, 1994. ISBN 0-88740-598-3 and, Finland in the Second World War. Between Germany and Russia. Palgrave. 2002. (pp. 90 - 141) </ref><ref name = "Directorate">Military-Topographic Directorate, maps No. 194, 196, Officer's Atlas. General Staff USSR. 1947. Атлас Офицера. Генеральный штаб вооруженных сил ССР. М., Военно-топографическоее управление,- 1947. Листы 194, 196</ref><ref>''Russia's War'': A History of the Soviet Effort: 1941-1945 ISBN 0-14-027169-4 by Richard Overy Page 91</ref><ref>The World War II. Desk Reference. Eisenhower Center Director Douglas Brinkley. Editor Mickael E. Haskey. Grand Central Press, Stonesong Press, HarperCollins, 2004. ISBN 0-06-052651-3. Page 210.</ref><ref>Siege of Leningrad. Encyclopedia Britannica. [http://www.britannica.com/bps/topic/335949/Siege-of-Leningrad#tab=active~checked%2Citems~checked%3E%2Fbps%2Ftopic%2F335949%2FSiege-of-Leningrad&title=Siege%20of%20Leningrad%20--%20Britannica%20Online%20Encyclopedia]</ref>
 
ปฏิบัติการได้เปิดฉาก[[แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)|แนวรบด้านตะวันออก]] ซึ่งมีกองกำลังมากมายที่เข้าร่วมมากกว่าในเขตสงครามอื่น ๆ ในประวัติศาสตร์ พื้นที่ดังกล่าวได้มีการพบเห็นถึงการสู้รบขนาดใหญ่ที่สุดในโลก ที่ดูโหดร้ายและน่าสะพรึงกลัวที่สุด และมีการบาดเจ็บล้มตายสูงสุด (สำหรับกองกำลังฝ่ายโซเวียตและกองกำลังฝ่ายอักษะ) ซึ่งทั้งหมดนี้มีอิทธิพลต่อสงครามโลกครั้งที่สองและประวัติศาสตร์ในภายหลังของทศวรรษที่ 20 ในที่สุด กองทัพเยอรมันได้จับกุมกองกำลังทหารของกองทัพแดงโซเวียตได้ราวประมาณห้าล้านนาย{{sfn|Chapoutot|2018|p=272}} ผู้คนส่วนใหญ่ไม่เคยกลับมามีชีวิตอีกเลย พวกนาซีได้จงใจให้อดอาหารหรือไม่ก็สังหารต่อเชลยศึกจำนวน 3.3 ล้านนายและพลเรือนอีกจำนวนมาก ด้วย"[[แผนความหิว]]" ซึ่งถูกใช้งานเพื่อแก้ไขปัญหาขาดแคลนอาหารของเยอรมันและกำจัดประชากรชาวสลาฟด้วยทุกขภิกภัย{{sfn|Snyder|2010|pp=175–186}} [[ไอน์ซัทซ์กรุพเพิน|มีการยิงเป้า]]และปฏิบัติการรมแก๊สจำนวนมากโดยพวกนาซี หรือผู้ให้ความร่วมมือด้วยความเต็มใจ{{Efn|See for instance the involvement of Latvian and Ukrainian forces in killing Jews cited by historian, Raul Hilberg.{{sfn|Hilberg|1992|pp=58–61, 199–202}}}} ได้ทำการสังหาร[[ชาวโซเวียตเชื้อสายยิว]]จำนวนกว่าล้านคน ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของ[[ฮอโลคอสต์|ฮอโลคอสต์{{sfn|United States Holocaust Memorial Museum|1996|pp=50–51}}]]
ปฏิบัติการบาร์บาร็อสซาเป็นปฏิบัติการทางทหารที่ยิ่งใหญ่ที่สุด ทั้งทางด้านกำลังพล พื้นที่ปฏิบัติการและความสูญเสียที่เกิดขึ้น<ref>Peter Antill, Peter Dennis. ''Stalingrad 1942''. Osprey Publishing, 2007,ISBN 1-84603-028-5, 9781846030284. p. 7.</ref> ความล้มเหลวในยุทธการบาร์บาร็อสซาเป็นที่ถกเถียงกันว่าเป็นสาเหตุโดยรวมที่ทำให้นาซีเยอรมนีต้องประสบกับความพ่ายแพ้ และเป็นจุดเปลี่ยนของนาซีเยอรมนีของ[[อดอล์ฟ ฮิตเลอร์]] จากการเปิดการโจมตีของนาซีทำให้เกิดการรบใหม่ขึ้นมาคือแนวรบด้านตะวันออก ซึ่งเป็นยุทธบริเวณที่ใหญ่ที่สุดในโลกตราบจนถึงปัจจุบัน ปฏิบัติการบาร์บาร็อสซากลายเป็นการรบครั้งยิ่งใหญ่ ความโหดร้าย การสูญเสียชีวิตปริมาณมหาศาล ซึ่งทั้งหมดได้ส่งอิทธิพลต่อสงครามโลกครั้งที่สอง และประวัติศาสตร์ในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตลอดมา
 
ด้วยความล้มเหลวของปฏิบัติการบาร์บาร็อสซา ทำให้โชคชะตา่ของ[[ไรช์ที่สาม]]ต้องกลับตาลปัตร{{sfn|Rees|2010}} ในทางปฏิบัติ กองทัพเยอรมันได้รับชัยชนะครั้งสำคัญและเข้ายึดครองพื้นที่ทางเศรษฐกิจที่สำคัญที่สุดบางแห่งชองสหภาพโซเวียต (ส่วนใหญ่อยู่ใน[[สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตยูเครน|ยูเครน]]) และได้รับความเสียหาย เช่นเดียวกับการบาดเจ็บล้มตายอย่างต่อเนื่อง แม้จะประสบความสำเร็จในช่วงแรก แต่ฝ่ายรุกของเยอรมันต้องหยุดชะงักลงใน[[ยุทธการที่มอสโก]] เมื่อปลายปี ค.ศ. 1941 และตามมาด้วยการโจมตีตอบโต้กลับในฤดูหนาวของโซเวียตได้ผลักดันให้กองทหารเยอรมันกลับไป เยอรมันได้คาดหวังอย่างมั่นอกมั่นใจว่า การต่อต้านของโซเวียตจะพังทลายลงอย่างรวดเร็วเช่นเดียวกับใน[[การบุกครองโปแลนด์|โปแลนด์]] แต่กองทัพแดงได้ซึมซับการโจมตีที่รุนแรงที่สุดของกองทัพ[[แวร์มัคท์]] และจมปลักอยู่ใน[[สงครามพร่ากำลัง]] ซึ่งเยอรมันไม่ได้เตรียมการมาก่อนเลย กองทัพที่ดูลิดรอนของแวร์มัคท์ไม่สามารถโจมตีตามแนวรบด้านตะวันออกทั้งหมดได้อีกต่อไป และตามมาด้วยปฏิบัติการเพื่อการรุกเข้ายึดกลับคืนและรุกเข้าไปลึก ๆ ในดินแดนโซเวียต เช่น [[กรณีสีน้ำเงิน]] ในปี ค.ศ. 1942 และ[[ปฏิบัติการซิทาเดล]]ในปี ค.ศ. 1943 จนในที่สุดก็ต้องล้มเหลวซึ่งส่งผลทำให้แวร์มัคท์ต้องล่าถอยและพังทลายลง
 
== เจตนาของเยอรมนี ==