ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กองกำลังรบนอกประเทศบริติช (สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Matable (คุย | ส่วนร่วม)
หน้าใหม่: {{Infobox military unit|unit_name=กองกำลังรบนอกประเทศบริติช|colors_label=|identification_symbol=|commander3_label=|comm...
 
Matable (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 9:
|}
 
'''กองกำลังรบนอกประเทศบริติช''' (British Expeditionary Force - BEF) เป็นหกกองพลของ[[กองทัพบกสหราชอาณาจักร|กองทัพบกบริติช]]ที่ถูกส่งไปยัง[[แนวรบด้านตะวันตก (สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง)|แนวรบด้านตะวันตก]]ในช่วง[[สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง]] แผนการสำหรับกองกำลังรบนอกประเทศบริติชได้เริ่มต้นในปี ค.ศ. 1906 - ค.ศ. 1912 การปฏิรูปของฮาลเดนของกองทัพบกบริติชได้ดำเนินการโดยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสงคราม [[ริชาร์ด ฮาลเดน]] ภายหลังจาก[[สงครามบัวร์ครั้งที่สอง]] (ค.ศ. 1899-ค.ศ. 1902)<ref name="tr504">Tucker & Roberts (2005), p.504</ref>
 
คำว่า"กองกำลังรบนอกประเทศบริติช" มักจะถูกใช้เพื่อเรียกโดยเฉพาะกองกำลังที่อยู่ในฝรั่งเศสก่อนที่จะสิ้นสุดลงใน[[ยุทธการที่อิพร์ครั้งแรกที่หนึ่ง|ยุทธการที่อิพร์ครั้งแรก]]ในวันที่ 22 พฤศจิกายน ค.ศ. 1914 ในช่วงปลายปี ค.ศ. 1914 ภายหลัง[[ยุทธการที่มงส์|การสู้รบที่มงส์]], Le Cateau, Aisne และอิพร์ การมีอยู่ของกองกำลังรบนอกประเทศบริติชแทบจะหมดลง แม้ว่ามันจะช่วยยัยยั้งการรุกคือของเยอรมันไว้ได้<ref name="ch211">Chandler (2003), p.211</ref> จุดสิ้นสุดทางเลือกของกองกำลังรบนอกประเทศบริติช คือ 26 ธันวาคม ค.ศ. 1914 เมื่อได้มีการแบ่งแยกออกเป็นกองทัพที่หนึ่งและที่สอง(กองทัพที่สาม สี่ และห้าถูกสร้างขึ้นในภายหลังในสงคราม) กองกำลังรบนอกประเทศบริติชยังคงเป็นชื่อทางการของกองทัพบกบริติชในฝรั่งเศสและฟลานเดอร์ ตลอดในช่วงสงครามโลกครั้งหนึ่ง
 
จักรพรรดิ[[จักรพรรดิวิลเฮ็ล์มที่ 2 แห่งเยอรมนี|วิลเฮล์มที่ 2]] แห่งเยอรมนี ผู้ซึ่งมีชื่อเสียงในเรื่องการเพิกเฉยต่อกองกำลังรบนอกประเทศบริติช ซึ่งถูกกล่าวหาว่าได้ออกคำสั่งเมื่อวันที่ 19 สิงหาคม ค.ศ. 1914 เพื่อ"กำจัด...ชาวอังกฤษที่ทรยศและให้เดินข้ามกองกำลังขนาดเล็กที่น่ารังเกียจของนายพลเฟรนซ์" ดังนั้น ในปีต่อมา ผู้รอดชีวิตจากกองทัพประจำการจึงได้ขนานนามตัวเองว่า "ผู้ถูกเหยียดหยามเก่า"(The Old Contemptibles) ไม่เคยพบหลักฐานใดๆ เกี่ยวกับคำสั่งดังกล่าวที่ถูกออกโดยพระเจ้าไกเซอร์