ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วินสตัน เชอร์ชิล"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Matable (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 50:
{{ใช้ปีคศ|263px}}
 
'''วินสตัน เลนเนิร์ด สเปนเซอร์-เชอร์ชิล''' ({{lang-en|Winston Leonard Spencer-Churchill}}) ผู้ซึ่งได้รับ[[เครื่องราชอิสริยาภรณ์การ์เตอร์]](KG) เครื่องราชอิสริยาภรณ์เมอริท(OM) เครื่องราชอิสริยาภรณ์สหายแห่งเกียรติยศ(CH) เครื่องราชอิสริยาภรณ์ดินแดนอาณานิคม(TD) รองนายทหารชั้นยศนายร้อย(DL) สหายของสังคมราชวงศ์(FRS) และ[[รอยัลอะคาเดมีออฟอาตส์|ราชบัณฑิตยสถานศิลปะ]](RA) (30 พฤศจิกายน ค.ศ. 1874 – 24 มกราคม ค.ศ. 1965) เป็นนักการเมือง รัฐบุรุษ เจ้าหน้าที่นายทหารแห่งกองทัพบก และนักเขียนชาวบริติช เขาดำรงตำแหน่งเป็น[[นายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักร]] ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1940 ถึง ค.ศ. 1945 ในช่วง[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] และอีกครั้งตั้งแต่ปี ค.ศ. 1951 ถึง ค.ศ. 1955 นอกเหนือจากสองปี ระหว่างปี ค.ศ. 1922 และ ค.ศ. 1924 เชอร์ชิลล์ยังคงเป็นสมาชิกแห่งรัฐสภา (MP) ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1900 ถึง ค.ศ. 1964 และเป็นผู้แทนทั้งหมดของห้าเขตเลือกตั้ง ด้วยอุดมการณ์คือ [[เศรษฐกิจแบบเสรีนิยม]] และ[[จักรวรรดิบริติช|ลัทธิจักรวรรดินิยม]] เขาเป็นสมาชิกพรรคอนุรักษ์นิยมในอาชีพการงานส่วนใหญ่ในตำแหน่งผู้นำ ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1940 ถึง ค.ศ. 1955 เขาเป็นสมาชิกพรรคเสรีนิยม ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1904 ถึง ค.ศ. 1924
'''วินสตัน เลนเนิร์ด สเปนเซอร์-เชอร์ชิล''' ({{lang-en|Winston Leonard Spencer-Churchill}}) (30 พฤศจิกายน ค.ศ. 1874 – 24 มกราคม ค.ศ. 1965) เป็นนักการเมืองและทหารบก[[ชาวอังกฤษ]] ผู้ดำรงตำแหน่ง[[นายกรัฐมนตรีสหราชอาณาจักร]]สองสมัย ระหว่างปี 1940 ถึง 1945 และปี 1951 ถึง 1955 ได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางว่าเป็นผู้นำที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในยุคสงครามของศตวรรษที่ 20 นอกจากนี้ วินสตันยังเป็น, นักประวัติศาสตร์, นักเขียน, ตลอดจนศิลปิน เขาได้รับ[[รางวัลโนเบล]]สาขาวรรณกรรม และยังเป็นบุคคลแรกที่ได้เป็น พลเมืองเกียรติยศแห่งสหรัฐอเมริกา ผู้คนมักนิยมเรียกเขาด้วยชื่อ "วินสตัน" แทนที่จะเรียกด้วยนามสกุล
 
ด้วยบรรพบุรษที่มีสายเลือดทั้งอังกฤษและอเมริกันผสมกัน เชอร์ชิลเกิดใน[[ออกซฟอร์ดเชอร์]]ในครอบครัวชนชั้นสูงที่มั่นคั่งร่ำรวย เขาได้เข้าร่วม[[กองทัพบกสหราชอาณาจักร|กองทัพบกบริติช]]ในปี ค.ศ. 1895 และแสดงให้เห็นถึงการปฏิบัติหน้าที่ใน[[บริติชราช|บริติชอินเดีย]] [[สงครามอังกฤษ-ซูดาน]] และ[[สงครามบัวร์ครั้งที่สอง]] ซึ่งได้รับชื่อเสียงในฐานะผู้เขียนข่าวสงครามและเขียนหนังสือเกี่ยวกับการทัพของเขา เขาได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกรัฐสภาฝ่ายอนุรักษ์นิยมในปี ค.ศ. 1900 เขาได้พ่ายแพ้ให้กับฝ่ายเสรีนิยมในปี ค.ศ. 1904 ในรัฐบาลเสรีนิยมของ[[เฮอร์เบิร์ท เฮนรี แอสควิธ]] เชอร์ชิลได้ดำรงตำแหน่งเป็น[[ประธานคณะกรรมการการค้า]]และ[[รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย (สหราชอาณาจักร)|รัฐมนตรีมหาดไทย]] ได้สนับสนุนในการปฏิรูปเรือนจำและความมั่นคงทางสังคมของแรงงาน ในฐานะที่เป็น[[ลอร์ดเอกแห่งกระทรวงทหารเรือ]] (First Lord of the Admiralty) ในช่วง[[สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง]] เขาได้ควบคุม[[การทัพกัลลิโพลี]] แต่ภายหลังจากนั้นก็ได้รับการพิสูนจน์แล้วว่าเป็นความหายนะ เขาได้ถูกลดตำแหน่งเป็นนายกรัฐมนตรีแห่ง[[ดัชชีแลงแคสเตอร์]] เขาได้ลาออกในเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 1915 และเข้าร่วมกับ[[รอยัล สเกาตส์ ฟูซิเลียส]] (Royal Scots Fusiliers) บน[[แนวรบด้านตะวันตก (สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง)|แนวรบด้านตะวันตก]]เป็นเวลาหกเดือน ในปี ค.ศ. 1918 เขาได้กลับคืนสู่รัฐบาลภายใต้การนำโดย[[เดวิด ลอยด์ จอร์จ]] และดำรงตำแหน่งอย่างต่อเนื่องในฐานะที่เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุทโธปกรณ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสงคราม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการบิน และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงดินแดนอาณานิคม คอยดูแลสนธิสัญญาอังกฤษ-ไอริชและนโยบายการต่างประเทศของอังกฤษในตะวันออกกลาง ภายหลังสองปี ได้ออกจากรัฐสภา เขาได้ดำรงตำแหน่งเป็น[[สมุหพระคลัง]]ในรัฐบาลฝ่ายอนุรักษ์นิยมของ[[สแตนลีย์ บอลดวิน]] ได้คืนค่าเงินปอนด์สเตอร์ลิงในปี ค.ศ. 1926 เพื่อให้เป็นมาตรฐานทองคำในระดับความเท่าเทียมกันในช่วงก่อนสงคราม ซึ่งเป็นการเคลื่อนไหวที่เห็นได้่ทั่วไปว่า ได้สร้างแรงกดดันเงินฝืดและกดดันเศรษฐกิจของสหราชอาณาจักร
วินสตันเกิดในตระกูลชนชั้นสูงที่สืบเชื้อสายมาจาก[[จอห์น เชอร์ชิล ดยุกแห่งมาร์ลบะระ|ดยุกแห่งมาร์ลบะระ]] สาขาหนึ่งของ[[ตระกูลสเปนเซอร์]] บิดาของเขาคือ ลอร์ดรันดอล์ฟ เชอร์ชิล นักการเมืองผู้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีคลัง ส่วนมารดาของเขาคือ เจนนี จีโรม นักสังคมสงเคราะห์ชาวอเมริกัน ในขณะที่ยังเป็นทหารหนุ่ม เขาได้ปฏิบัติภารกิจใน[[บริติชอินเดีย]] และซูดาน และในสงครามโบเออร์ครั้งที่สอง เขามีชื่อเสียงขึ้นมาจากการเป็นนักข่าวสงครามและเขียนหนังสือเกี่ยวกับปฏิบัติการของเขา
 
เขาได้ลาออกจากตำแหน่งในปี ค.ศ. 1930 เชอร์ชิลล์ได้เป็นผู้นำในการเรียกร้องให้อังกฤษทำการฟื้นฟูแสนยานุภาพเพื่อต่อต้านภัยคุกคามทางทหารที่เพิ่มมากขึ้นใน[[นาซีเยอรมนี]] ในขณะที่การประทุของสงครามโลกครั้งที่สอง เขาได้รับการแต่งตั้งให้เป็นลอร์ดเอกแห่งกระทรวงทหารเรืออีกครั้ง ในเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 1940 เขาได้ขึ้นดำรงตำแหน่งเป็นนายกรัฐมนตรี เข้ามาแทนที่[[เนวิล เชมเบอร์ลิน]] เชอร์ชิลล์ได้คอยควบคุมการมีส่วนร่วมของบริติชในความพยายามทำสงครามของ[[ฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สอง|ฝ่ายสัมพันธมิตร]]ในการต่อกรกับ[[ฝ่ายอักษะ]] ซึ่งส่งผลให้ได้รับชัยชนะในปี ค.ศ. 1945 ภายหลังจากฝ่ายอนุรักษนิยมพ่ายแพ้ในการเลือกตั้งทั่วไป ปี ค.ศ. 1945 เขาก็กลายเป็นผู้นำฝ่ายค้าน ท่ามกลาง[[สงครามเย็น]]ที่กำลังก่อตัวขึ้นกับ[[สหภาพโซเวียต]] เขาได้ประกาศเตือนต่อสาธารณชนถึง"[[ม่านเหล็ก]]" ของอิทธิพลสหภาพโซเวียตในยุโรปและส่งเสริมความเป็นเอกภาพของยุโรป เขาได้รับเลือกตั้งเป็นนายกรัฐมนตรีอีกครั้งในปี ค.ศ. 1951 ในวาระที่สองของเขานั้นเอาแต่หมกมุ่นอยู่กับการต่างประเทศ โดยเฉพาะความสัมพันธ์อังกฤษ-อเมริกา และแม้ว่าจะมีการแบ่งแยกดินแดนอาณานิคมอย่างต่อเนื่อง แต่ยังคงรักษาจักรวรรดิบริติชเอาไว้ได้ ภายในประเทศ รัฐบาลของเชาได้เน้นย้ำต่อการสร้างตึกรามบ้านช่องและพัฒนาอาวุธนิวเคลียร์ เชอร์ชิลล์ได้ลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีในปี ค.ศ. 1955 แม้ว่าเขาจะยังคงเป็นสมาชิกรัฐสภา จนถึงปี ค.ศ. 1964 เมื่อเขาได้เสียชีวิตลงในปี ค.ศ. 1965 เขาได้รับการจัดงานศพแบบพิธีรัฐ
เขาเป็นผู้มีบทบาททางการเมืองแถวหน้ามาตลอดห้าสิบปี ได้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองและตำแหน่งในคณะรัฐมนตรีมากมาย ก่อน[[สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง]]เขาเป็นหัวหน้ากรรมการการค้า, รัฐมนตรีมหาดไทย, และรัฐมนตรียุติธรรม ระหว่างสงคราม เขายังคงดำรงตำแหน่งรัฐมนตรียุติธรรม จนกระทั่งความพ่ายแพ้ของอังกฤษใน[[การทัพกัลลิโพลี]] ทำให้เขาต้องออกจากคณะรัฐบาลและไปประจำการราชการทหารอยู่ที่แนวหน้าภาคตะวันตกในตำแหน่งผู้บัญชาการกองพันลูกเสือที่ 6 จนกระทั่งเขาได้กลับคืนคณะรัฐบาลในตำแหน่งรัฐมนตรียุทธภัณฑ์ รัฐมนตรีว่าการสงคราม และ รัฐมนตรีน่านฟ้า และในปี 1921-1922 เป็นรัฐมนตรีว่าการอาณานิคม และต่อมาในปี 1924-1929 เป็นรัฐมนตรีคลังหลวง โดยเขาได้กำหนดให้สกุลเงินปอนด์กลับไปอิงค่าทองคำเหมือนกับยุคก่อนสงคราม ซึ่งทำให้เกิด[[ภาวะเงินฝืด]]แพร่ไปทั้งเศรษฐกิจของสหราชอาณาจักร
 
เชอร์ชิลล์ยังคงได้รับความนิยมอย่างกว้างขวางในสหราชอาณาจักรและโลกตะวันตก ซึ่งเขาถูกมองว่าเป็นผู้นำในช่วงยามสงครามที่นำมาซึ่งชัยชนะ ที่มีบทบาทสำคัญในการปกป้อง[[ประชาธิปไตยเสรีนิยม]]ของยุโรป จากการแพร่กระจายของ[[ลัทธิฟาสซิสต์]] ยังได้รับการยกย่องในฐานะนักปฏิรูปสังคม นักประวัติศาสตร์ จิตรกร และนักเขียน อีกทั้งรางวัลมากมายของเขาคือ [[รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม]] อย่างไรก็ตาม เขาถูกวิพากษ์วิจารณ์เกี่ยวกับเหตุการณ์ในช่วงสงคราม โดยเฉพาะอย่างยิ่งคือ [[การทิ้งระเบิดที่เดรสเดินในสงครามโลกครั้งที่สอง|การทิ้งระเบิดที่เดรสเดิน ปี ค.ศ. 1945]] และสำหรับมุมมองของเขาและความคิดเห็นเกี่ยวกับลัทธิจักรวรรดินิยมของเขาเกี่ยวกับเชื้อชาติ
ภายหลังห่างหายจากงานการเมืองไปในทศวรรษที่ 1930 วินสตันก็ได้กลับมาทำงานการเมืองอีกครั้งเมื่อ[[นาซีเยอรมนี]]เริ่มที่จะสั่งสมกำลังทหารและดูจะเป็นภัยคุกคามต่ออังกฤษ และแล้วการอุบัติขึ้นอย่างฉับพลันของ[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] ก็ทำให้เขาได้รับแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรียุติธรรมอีกครั้ง และภายหลังการลาออกของนายกรัฐมนตรี [[เนวิล เชมเบอร์ลิน]] ในวันที่ 10 พฤษภาคม 1940 วินสตันก็กลายเป็นนายกรัฐมนตรี คำประกาศหนักแน่นของเขาที่จะไม่เป็นผู้ยอมแพ้ได้ช่วยกระตุ้นให้ชาวอังกฤษหันมาต่อต้านนาซีเยอรมนี โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงต้นสงครามซึ่งเป็นช่วงเวลาที่ยากเย็นเมื่อสหราชอาณาจักรและอาณานิคมอังกฤษเป็นเพียงฝ่ายเดียวที่ลุกขึ้นอยู่ฝ่ายตรงข้ามกับ[[อดอล์ฟ ฮิตเลอร์]] วินสตันได้กล่าวสุนทรพจน์ของเขาผ่านวิทยุกระจายเสียงปลุกขวัญกำลังใจชาวอังกฤษ เขาเป็นผู้นำของอังกฤษไปจนกระทั่งสามารถมีชัยเหนือนาซีเยอรมนีได้ แต่ทว่าการได้รับชัยชนะมาต้องแลกกับการสูญเสียการเป็นอภิมหาอำนาจของโลกให้กับสหรัฐอเมริกาไป เหล่าประเทศอาณานิคมที่ยึดครองได้แก่ อินเดีย มาเลเซีย พม่า เป็นต้นต่างก็ได้เรียกร้องเอกราชจนจำใจต้องยอมเป็นเหตุทำให้จักรวรรดิอังกฤษล่มสลายและกลายเป็น[[เครือจักรภพแห่งชาติ]]แทน
 
ภายหลังพรรคอนุรักษนิยมพ่ายการเลือกตั้งในปี 1945 เขาก็ทำหน้าที่เป็นผู้นำฝ่ายค้านต่อรัฐบาล[[พรรคแรงงาน (สหราชอาณาจักร)|พรรคแรงงาน]] เขาได้ออกมาเตือนอย่างเปิดเผยถึงอิทธิพลของ[[โซเวียต]]ในยุโรปผ่านมาตรการ "[[ม่านเหล็ก]]" และยังส่งเสริมความเป็นหนึ่งเดียวของยุโรป ภายหลังชนะเลือกตั้งในปี 1951 วินสตันก็กลับมาเป็นนายกรัฐมนตรีอีกครั้ง ในช่วงการดำรงตำแหน่งครั้งที่สองนี้ รัฐบาลของเขาเต็มไปด้วยข้อราชการต่างประเทศ ทั้ง[[วิกฤตการณ์มาลายา]], กบฎมาอูมาอูในเคนยา, [[สงครามเกาหลี]] ตลอดจนสนับสนุนการ[[รัฐประหารในอิหร่าน ค.ศ. 1953|รัฐประหารในอิหร่าน]] ในปี 1953 เขาเริ่มเจ็บป่วยจากภาวะขาดเลือดในสมอง และลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีในปี 1955 แต่เขายังคงเป็นสมาชิก[[สภาสามัญชน]]ไปจนถึงปี 1964 วินสตันถึงแก่อสัญกรรมด้วยวัย 90 ปีในปี 1965 โดย[[สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2]] พระราชทานรัฐพิธีศพให้เป็นเกียรติ เขายังคงได้รับการกล่าวถึงว่าเป็นหนึ่งในกลุ่มคนที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ชาติอังกฤษ ชื่อของเขาอยู่ในลำดับที่ 1 ของ[[ชาวบริติชผู้ยิ่งใหญ่ที่สุดหนึ่งร้อยลำดับ|ทำเนียบชาวอังกฤษผู้ยิ่งใหญ่ที่สุดตลอดกาล]]จากการจัดอันดับในปี 2002
 
== ชีวิตวัยเยาว์ ==