ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษากรีก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Aefgh3962 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Mr.BuriramCN (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{แปลเพิ่ม|langcode = en|otherarticle = Greek language|lang = ภาษาอังกฤษ}}
{{ล้าสมัย}}
{{Infobox language
{{กล่องข้อมูล ภาษา
| name = กรีก
| nativename = {{lang|el|ελληνικά}}
| nativename = Ελληνικά (เอลีนิกา), Ελληνική γλώσσα (เอลีนิกี ฮลอสซา)
| pronunciation = {{IPA-el|eliniˈka|}}
| states = [[ประเทศกรีซ|กรีซ]] [[ประเทศไซปรัส|ไซปรัส]] และบางชุมชนในหลายประเทศ
| scriptethnicity = [[อักษรชาวกรีก]]
| speakers = 15 ล้านคน
| region = [[กรีซ]]<br>[[ไซปรัส]]<br>[[อานาโตเลีย]]<br>[[บอลข่าน]]<br>ชายฝั่ง[[ทะเลดำ]]<br>[[อีสเทิร์นเมดิเตอร์เรเนียน]]<br>[[ภาคใต้ (ประเทศอิตาลี)|ภาคใต้ของอิตาลี]]
| rank = 74
| speakers = 1513.5 ล้านคน
| familycolor = Indo-European
| date = ค.ศ. 2012
| fam2 = [[กลุ่มภาษาเฮลเลนิก|เฮลเลนิก]]
| ref = e18
| fam3 = [[ภาษากรีกแอตติก|แอตติก]]
| refname = Greek<!--name as shown at Ethnologue reference-->
|ancestor = [[ภาษากรีกดั้งเดิม]]
| familycolor = Indo-European
| script = [[อักษรกรีก]]
| fam2 = [[กลุ่มภาษาเฮลเลนิก|เฮลเลนิก]]
| nation = [[ประเทศกรีซ|กรีซ]] [[ประเทศไซปรัส|ไซปรัส]] และ [[สหภาพยุโรป]]
| ancestor = [[โปรโต-กรีก]]
| iso1 = el
| dia1 = [[กลุ่มสำเนียงกรีกโบราณ|กลุ่มสำเนียงโบราณ]]
| iso2b = gre
| dia2 = [[Varieties of Modern Greek|กลุ่มสำเนียงสมัยใหม่]]
| iso2t = ell
| iso3stand1 = ell
| script = {{ublist|[[อักษรกรีก]]}}
| iso1 = el
| iso2b = gre
| iso2t = ell
| lc1 = ell
| ld1 = กรีกสมัยใหม่
| lc2 = grc
| ld2 = กรีกโบราณ
| lc3 = cpg
| ld3 = Cappadocian Greek
| lc4 = gmy
| ld4 = Mycenaean Greek
| lc5 = pnt
| ld5 = Pontic
| lc6 = tsd
| ld6 = Tsakonian
| lc7 = yej
| ld7 = Yevanic
| glotto = gree1276
| glottorefname = Greek<!--name as shown at Glottolog reference-->
| lingua = {{ublist|class=nowrap |56-AAA-a |56-AAA-aa {{small|to}} -am {{small|(varieties)}} }}
| map = Idioma Griego.PNG
| mapcaption = พื้นที่ที่มีการพูดภาษากรีกสมัยใหม่ (สีน้ำเงินเข้มคือพื้นที่ที่ใช้เป็นภาษาราชการ)
| notice = IPA
}}
 
'''ภาษากรีก''' (แบบสมัยใหม่ {{lang|el|Ελληνικά}}, <small>ถอดเสียงเป็นโรมัน:</small> ''Elliniká'', แบบโบราณ {{lang|grc|Ἑλληνική}}, ''Hellēnikḗ'') เป็นหนึ่งใน[[ภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียน]] พูดใน[[กรีซ]] [[ไซปรัส]] [[แอลเบเนีย]] และส่วนอื่นของชายฝั่ง[[ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน]]ตะวันออกและ[[ทะเลดำ]] เป็นภาษาที่เก่าแก่ที่สุดในกลุ่มอินโด-ยูโรเปียน โดยมีหลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษรย้อนกลับไปเมื่อราว 3,400 ปีก่อน<ref name=":1">{{cite encyclopedia|title=Greek language|encyclopedia=[[Encyclopædia Britannica]]|publisher=Encyclopædia Britannica, Inc.|access-date=29 April 2014|url=http://www.britannica.com/EBchecked/topic/244595/Greek-language}}</ref> มีระบบการเขียนที่ใช้คือ[[อักษรกรีก]] ซึ่งใช้มากว่า 2,000 ปีจนถึงปัจจุบัน ซึ่งมีอิทธิพลต่อระบบการเขียนอื่น ๆ ด้วย เช่น [[อักษรลิเนียร์บี]] [[อักษรไซปรัส]]<ref>{{Cite book|title=A history of the Greek language : from its origins to the present|last=1922-|first=Adrados, Francisco Rodríguez|date=2005|publisher=Brill|isbn=978-90-04-12835-4|location=Leiden|oclc=59712402}}</ref> และยังเป็นรากฐานของระบบการเขียนอื่น ๆ อีกมากมาย ได้แก่ [[อักษรละติน]] [[อักษรซีริลลิก]] [[อักษรอาร์มีเนีย]] [[อักษรคอปติก]] [[อักษรกอธิก]] ฯลฯ นอกจากนี้คำในภาษากรีกยังถูกใช้เป็นรากศัพท์ของภาษาอื่น ๆ มากมาย
'''ภาษากรีก''' ซึ่งคนที่พูดและเขียนภาษานี้เรียกว่า '''เฮลเลนิก''' หรือ '''เอลเลนิกา''' (Ελληνικά) เป็น[[ภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียน]] เกิดใน[[ประเทศกรีซ]] และเคยเป็นภาษาพูดตามชายฝั่งของ[[เอเชียไมเนอร์]]และทางใต้ของ[[ประเทศอิตาลี]]ในยุคโบราณ มีการพูดภาษาถิ่นจำนวนหนึ่ง เช่น [[ภาษาไอโอนิกกรีก|ไอโอนิก]] [[ภาษาดอริกกรีก|ดอริก]] และ[[ภาษาแอททิกกรีก|แอททิก]]
 
ภาษากรีกมีบทบาทสำคัญในประวัติศาสตร์[[โลกตะวันตก]]<ref>''A history of ancient Greek'' by Maria Chritē, Maria Arapopoulou, Centre for the Greek Language (Thessalonikē, Greece) pg 436 {{ISBN|0-521-83307-8}}</ref> โดย[[วรรณกรรมกรีกโบราณ]]ซึ่งมีจุดกำเนิดจากมหากาพย์[[โฮเมอร์]] มีผลงานต่าง ๆ ที่มีความโดดเด่นและเป็นที่ประจักษ์ในยุโรป ภาษากรีกยังเป็นภาษาที่เป็นรากศัพท์ในคำศัพท์ทางวิทยาศาสตร์และปรัชญา [[พันธสัญญาใหม่]]ใน[[คัมภีร์ไบเบิล]]ของชาวคริสต์ก็เขียนด้วยภาษากรีก<ref>Kurt Aland, Barbara Aland The text of the New Testament: an introduction to the critical 1995 p52</ref><ref>Archibald Macbride Hunter Introducing the New Testament 1972 p9</ref> การเรียนการสอนภาษากรีกและ[[ภาษาละติน]]มีความสำคัญใน[[ยุคคลาสสิก (ดนตรี)|ยุคคลาสสิก]]เป็นอย่างมาก
ภาษากรีกเป็นภาษาที่เก่าแก่ที่สุดในกลุ่มอินโด-ยูโรเปียน โดยมีหลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษรย้อนกลับไปเมื่อราว 3,400 ปีก่อน<ref name=":1">{{cite encyclopedia|title=Greek language|encyclopedia=[[Encyclopædia Britannica]]|publisher=Encyclopædia Britannica, Inc.|access-date=29 April 2014|url=http://www.britannica.com/EBchecked/topic/244595/Greek-language}}</ref> มีระบบการเขียนที่ใช้คือ[[อักษรกรีก]] ซึ่งใช้มากว่า 2,000 ปีจนถึงปัจจุบัน ซึ่งมีอิทธิพลต่อระบบการเขียนอื่น ๆ ด้วย เช่น [[อักษรลิเนียร์บี]] [[อักษรไซปรัส]]<ref>{{Cite book|title=A history of the Greek language : from its origins to the present|last=1922-|first=Adrados, Francisco Rodríguez|date=2005|publisher=Brill|isbn=978-90-04-12835-4|location=Leiden|oclc=59712402}}</ref> และยังเป็นรากฐานของระบบการเขียนอื่น ๆ อีกมากมาย ได้แก่ [[อักษรละติน]] [[อักษรซีริลลิก]] [[อักษรอาร์มีเนีย]] [[อักษรคอปติก]] [[อักษรกอธิก]] ฯลฯ นอกจากนี้คำในภาษากรีกยังถูกใช้เป็นรากศัพท์ของภาษาอื่น ๆ มากมาย
 
การเรียนการสอนภาษากรีกในประเทศไทยยังไม่แพร่หลายนัก ปัจจุบันมีเพียง คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง<ref name="test">[http://joomla.ru.ac.th/human/greek.doc หลักสูตรภาษากรีก คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง], รูปแบบไฟล์ .doc /สืบค้นเมื่อวันที่ 21 มกราคม พ.ศ. 2555</ref> เท่านั้นที่ทำการสอนในระดับมหาวิทยาลัย{{อ้างอิง}}