ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เรือหลวงธนบุรี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Narutzy (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 9:
|Ship country=[[ประเทศไทย]]
|Ship flag=[[ไฟล์:Naval Ensign of Thailand.svg|60px]]
|Ship class= : เรือปืนยามฝั่ง
|Ship name= เรือหลวงธนบุรึ (HTMS Thonburi)
|Ship namesake=[[กรุงธนบุรี]]
|Ship ordered=
|Ship awarded= [[ไฟล์:Bravery Medal (Thailand) ribbon.svg|30px|border]] [[เหรียญกล้าหาญ]]
|Ship builder= คะวะซะกิ เมืองโคเบะ ประเทศญี่ปุ่น
|Ship laid down= [[12 มกราคม]] [[พ.ศ. 2479]]
|Ship launched= [[31 กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 2480]]
|Ship christened=
|Ship acquired=
|Ship commissioned= [[5 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2481]]
|Ship recommissioned=
|Ship decommissioned=[[ 26 กันยายน]] [[พ.ศ. 2484]]
|Ship in service=
|Ship out of service=
บรรทัด 28:
|Ship refit=
|Ship captured=
|Ship struck=[[ 19 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2502]]
|Ship reinstated=
|Ship fate=จัดเป็นอนุสรณ์สถาน ณ [[โรงเรียนนายเรือ]] [[จังหวัดสมุทรปราการ]] (เฉพาะป้อมปืนหน้าและหอบังคับการ)
บรรทัด 37:
|Hide header=
|Header caption=
|Ship type=[[ เรือปืนยามฝั่ง]]
|Ship displacement=มาตรฐาน:2301 ตัน
เต็มที่:2265 ตัน
บรรทัด 55:
|Ship EW=
|Ship armament=
หมู่ปืนใหญ่ 8" (203 มม.) Naval Gun Type 3 ป้อมละ 2 กระบอก จำนวน 2 ป้อม และปืนอเนกประสงค์ 75 มม. Type 51 จำนวน 4 กระบอก ปืนกลอากาศ 20 มม. แท่นคู่ จำนวน 2 แท่น
 
|Ship armour=
ด้านข้างเรือ 63.5 มม. ( 2" นิ้ว)
ดาดฟ้าเรือ 38+25 มม. (1.5+1)
ป้อมปืน 100 มม. ( 4" นิ้ว)
หอบังคับการ 102 มม. ( 4" นิ้ว)
|Ship armor=
|Ship aircraft= ไม่มี
บรรทัด 70:
|}
 
'''เรือหลวงธนบุรี''' เป็นเรือรบประเภท[[เรือปืนยามฝั่ง]]ของกองทัพเรือไทย ซึ่งมีบทบาทสำคัญในช่วง[[กรณีพิพาทอินโดจีน]] ก่อนที่ไทยเข้าร่วมสงครามโลกครั้งที่สองอย่างเต็มตัวในปี [[พ.ศ. 2484]]
 
==ประวัติ==
{{See also|ยุทธนาวีเกาะช้าง}}
เรือหลวงธนบุรีเป็นเรือรบประเภท[[เรือปืนยามฝั่ง]] จัดอยู่ในชั้นเรือเดียวกันกับ[[เรือหลวงศรีอยุธยา]] ต่อขึ้นที่อู่ต่อเรือกาวาซากิ เมือง[[โกเบ]] [[ประเทศญี่ปุ่น]] เมื่อปี [[พ.ศ. 2479]] เป็นขุมกำลังสำคัญของ[[กองทัพเรือไทย]]ในช่วง[[กรณีพิพาทอินโดจีน|กรณีพิพาท]]ระหว่าง[[ไทย]] - [[อินโดจีนฝรั่งเศส]] โดยเรือหลวงธนบุรีได้เข้าทำการรบอย่างกล้าหาญใน[[ยุทธนาวีเกาะช้าง]]เมื่อวันที่ [[17 มกราคม]] [[พ.ศ. 2484]] จนสามารถขับไล่ข้าศึกได้สำเร็จ แต่เรือได้รับความเสียหายอย่างหนักมาก [[เรือหลวงช้าง]]จึงลากจูงให้มาเกยตื้นในเย็นวันเดียวกันที่[[แหลมงอบ]] [[จังหวัดตราด]]
 
ภายหลังเมื่อมีการกู้เรือหลวงธนบุรีแล้ว กองทัพเรือได้ลากจูงเรือมาทำการซ่อมใหญ่ในวันที่ [[26 กันยายน]] [[พ.ศ. 2484]] แต่เมื่อตรวจสอบแล้วพบว่าเสียหายหนักเกินกว่าจะซ่อมแซมได้ จึงปลดระวางจากการเป็นเรือรบ และใช้เป็นกองบังคับการลอยน้ำของกองเรือตรวจอ่าว [[กองเรือยุทธการ]] จนปลดระวางประจำการเมื่อวันที่ [[19 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2502]] ทางราชการจึงได้นำส่วนป้อมปืนเรือและหอบังคับการของเรือหลวงธนบุรีมาจัดตั้งเป็นอนุสรณ์สถานเรือหลวงธนบุรี เพื่อรำลึกถึงเหตุการณ์[[ยุทธนาวีเกาะช้าง]] ซึ่งปัจจุบันตั้งอยู่ภายใน[[โรงเรียนนายเรือ]] [[จังหวัดสมุทรปราการ]]
 
ชื่อของเรือหลวงธนบุรีได้มาจากนาม "[[กรุงธนบุรี|กรุงธนบุรีศรีมหาสมุทร]]" อันเป็นนามของราชธานีไทยในรัชสมัย[[สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช]] (พ.ศ. 2310 - 2325)
 
== เกียรติยศ ==
หลังสิ้นสุดกรณีพิพาทอินโดจีน เรือหลวงธนบุรีได้รับพระราชทาน[[เหรียญกล้าหาญ]]เป็นเครื่องเชิดชูเกียรติจากการปฏิบัติหน้าที่ในยุทธนาวีเกาะช้าง ปรากฏหลักฐานในแจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญกล้าหาญ ลงวันที่ [[26 สิงหาคม]] [[พ.ศ. 2484]] ตีพิมพ์ในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 57 หน้า 2810 ลงวันที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2484 ทั้งนี้ มีกำลังพลของกองทัพเรือที่ได้รับพระราชทานเหรียญกล้าหาญพร้อมกัน จำนวน 18 นาย ในจำนวนนี้เป็นกำลังพลของเรือหลวงธนบุรี 14 นาย ซึ่งได้แก่ <ref>"[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2484/D/2810.PDF แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญกล้าหาญ]. 26 สิงหาคม 2484" '''[[ราชกิจจานุเบกษา]].''' 58 (2 กันยายน 2484) : 2810-2811.</ref>
 
# นายนาวาเอก [[หลวงพร้อมวีรพันธุ์วีระพันธ์ (พร้อม วีระพันธุ์พันธ์)]] ([[เสียชีวิตในการรบ]])
# นายเรือเอก เฉลิม สถิระถาวร
# นายเรือโท ขัน วงศ์กนก (เสียชีวิตในการรบ)
บรรทัด 97:
# พันจ่าเอก ชุน แซ่ฉั่ว
# พันจ่าเอก เอ่ง แซ่ลิ้ม
 
== เกร็ด ==
== ส่วนเกี่ยวข้อง ==
* ก่อนหน้าที่จะมีการจัดซื้อเรือหลวงธนบุรีนั้น ชื่อของเรือนี้ได้ปรากฏอยู่ในบทละครพูดเรื่อง '''ร.ต.ล. นนทรี''' ซึ่งเป็นบทพระราชนิพนธ์ใน[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ตีพิมพ์ครั้งแรกในวารสารสมุทรสาร ประจำเดือนมิถุนายน [[พ.ศ. 2459]]
* การถ่ายถอดชื่อเรือหลวงธนบุรีเป็น[[อักษรโรมัน]]มีหลากหลายรูปแบบ เช่น Dhonburi, Dornbury สำหรับกองทัพเรือไทยใช้ว่า Thonburi<ref>[http://www.navy.mi.th/nrdo/Chakri/king8.htm#7 เรือรบในรัชสมัย ร.8] - บทความชุด วันจักรี ของเว็บไซต์กองทัพเรือไทย</ref>