ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ศัมภละ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
พุทธามาตย์ ย้ายหน้า ศัมภลา ไปยัง ศัมภละ
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{hatnote|สำหรับความหมายอื่น ดู [[ศัมภลาศัมภละ (แก้ความกำกวม)]]}}
{{พุทธศาสนา}}
<!--[[ไฟล์:KalachakraSera.jpg|thumb|350px|right|ผืนไหมวาดเป็นรูปกาลจักร ได้มาแต่จาก[[Sera Monastery|สำนักสงฆ์วัดเซ่อลา]] (Sèlā)<ref>Crossman, Sylvie and Jean-Pierre Barou, eds. ''Tibetan Mandala, Art and Practice (The Wheel of Time) ''. New York: Konecky & Konecky, 2004. ISBN 1-56852-473-0. pp.20-26</ref> from [[Sera Monastery]] (private collection).]]-->
 
'''ศัมภลาศัมภละ''' ([[ภาษาสันสกฤต{{lang-sa|สันสกฤต]]: Śambhalāशम्भल}}; [[ภาษาทิเบต{{lang-bo|ทิเบต]]: བདེ་འབྱུང}}; {{lang-hi|शम्भलाशम्भल}}) เป็นชื่อนครแห่งหนึ่งซึ่ง[[ศาสนาพุทธแบบทิเบต|พุทธศาสนาแบบทิเบต]]และอินเดียเชื่อว่ารี้เร้นอยู่ ณ ซ่อนตัวอยู่ใน[[เอเชียใน]] นครนี้ปรากฏอยู่ในตำรับตำราโบราณหลายฉบับ รวมถึง[[กาลจักร|กาลจักรตันตระ]] (Kalachakra Tantra) และเอกสารโบราณในวัฒนธรรม[[Zhang Zhung|เซี่ยงสฺยง]] (Zhang Zhung)<ref>The Tantra by Victor M. Fic, Abhinav Publications, 2003, p.49.</ref><ref>The Bon Religion of Tibet by Per Kavǣrne, Shambhala, 1996</ref> แต่ไม่ว่าจะมีเค้ามูลทางประวัติศาสตร์หรือไม่อย่างไร ก็มีผู้ถือว่าศัมภลานครละเป็นเมืองแห่ง[[สุขาวดี]]กันเรื่อย ๆ มา และศัมภลานครละในรูปแบบสุขาวดีนี้เองที่แพร่ไปในวัฒนธรรมตะวันตกจนเป็นแรงบันดาลใจให้แก่ทั้งผู้เป็นและไม่เป็นพุทธศาสนิกชน
 
== ในคัมภีร์กาลจักรตันตระ ==
บรรทัด 10:
{{main|กาลจักร}}
 
ศัมภลาเป็นคำภาษาสันสกฤตซึ่งยังไม่ทราบรากศัพท์แน่ชัด ความเชื่อเรื่องศัมภลานครในพุทธศาสนานั้น แท้จริงรับเอามาจากคติพราหมณ์เรื่อง[[พระวิษณุ|พระนารายณ์]]อวตารลงมาเป็นบุรุษชื่อ[[กัลกยาวตาร|กัลกีกัลกิ]]แห่งศัมภลานครซึ่งปรากฏอยู่ในกาพย์[[มหาภารตะ]]และคัมภีร์[[ปุราณะ]] แต่ก็มีผู้เห็นว่าเป็นการสร้างอุดมคติจากวัฒนธรรมที่ปรากฏอยู่แล้ว โดยเอาภูมิภาคในกลางหรือตะวันออกไกลของเอเชียมาปรุงแต่งเป็นศัมภลานคร
 
ตามความเชื่อในพุทธศาสนา ศัมภลานครเป็นดินแดนแห่งความสงบร่มเย็นและปีติศานติ์ ว่ากันว่า[[ศากยมุนีพระโคตมพุทธเจ้า]]เคยมีพระพุทธฎีกาตรัสสอนเรื่องกาลจักรให้แก่[[Suchandra|พระเจ้าสุจันทรทระ]] (Suchandra) แห่งศัมภลานครศัมภละ ซึ่งต่อมาได้รับการบันทึกเป็นคัมภีร์ชื่อกาลจักรตันตระ และคัมภีร์นั้นว่าศัมภลานครละเป็นสังคมซึ่งไพร่บ้านพลเมืองทั้งปวงมีความรู้ เป็นสุขาวดีโดยแท้จริง ตั้งอยู่กลางกรุงที่ชื่อ [[Kalapa|กลปะ]] (Kalapa) [[ศัมภลากษัตริย์]]พระเจ้าศัมภละนั้นมีตำแหน่งเรียกว่า "กัลกี[[กัลกิ]]" ทรงปกครองแผ่นดินโดยดำรงอยู่ในราชธรรมตามคัมภีร์กาลจักรตันตระ<ref>{{citation | url = http://blog.sina.com.cn/s/blog_4899c61801000anl.html | title = 香巴拉—时轮金刚的清净刹土(上) | publisher = Sina | language =zh| place = CN}}.</ref><ref>{{citation | publisher = FJDH | language =zh| url = http://www.fjdh.com/Article/HTML/Article_20050815134016.html | title = 时轮金刚与香巴拉王朝}}</ref><ref>{{citation | url = http://blog.sina.com.cn/s/articlelist_1579280342_1_1.html | title = 香巴拉净土_罗鸣_新浪博客 | publisher = Sina | language =zh| place = CN}}.</ref>
 
คัมภีร์กาลจักรตันตระยังพยากรณ์ว่า เมื่อโลกถดถอยเข้าสู่กลียุค สรรพสิ่งจะถึงแก่ความดับสูญ ครั้งนั้น ศัมภลากษัตริย์พระองค์ที่ยี่สิบห้าจะเสด็จกรีธาพยุหะรี้พลมหึมาออกจากนครเพื่อกระทำสงครามต่อต้านความชั่วร้าย และจะทรงบำรุงโลกให้เป็น[[ยุคทอง]] นักวิชาการหลายคน เช่น อเลกซ์ เบอร์ซิน (Alex Berzin) อาศัยคัมภีร์กาลจักรตันตระนี้คำนวณว่า เหตุการณ์ดังกล่าวตกใน ค.ศ. 2424<ref>{{cite web |url= http://www.berzinarchives.com/e-books/kalachakra_initiation/kalachakra_initiation_2.html |title=Taking the Kalachakra Initiation | accessdate =2008-10-27 |last=Berzin |first=Alexander|year=1997 }}</ref>
 
อนึ่ง ยังเชื่อกันด้วยว่า [[Manjushrikirti|พระเจ้ามัญชุศรีกีรติ]] (Manjushrikirti) มีพระประสูติกาลในปีที่ 159 ก่อนคริสตกาล และได้เป็นศัมภลากษัตริย์พระองค์ที่แปด ในแว่นแคว้นของพระองค์นั้น พลเมืองสามแสนห้าร้อยสิบคนถือศาสนา[[มฤจฉา]] (Mleccha) หรือศาสนาอันเห็นผิดเป็นชอบ และบางคนบวงสรวงสุริยเทพ ต่อมา พระองค์จึงทรงขับไล่นักพรตมฤจฉาไปเสียจากนคร แต่ภายหลังเมื่อสดับตรับฟังฎีกาพวกเขาเหล่านั้นแล้ว ก็ทรงอภัยโทษให้กลับเข้ามาได้ ทว่า เพื่อประโยชน์สุขแห่งแว่นแคว้น พระองค์จึงเสด็จเที่ยวสั่งสอนคัมภีร์กาลจักรตันตระแก่ประชาชนพลเมือง ครั้นปีที่ 59 ก่อนคริสตกาล พระองค์ทรงสละพระราชสมบัติให้พระราชกุมารปุณฑริก (Puṇdaŕika) เสวยสืบต่อมา ไม่ช้าก็เสด็จนฤพาน และทรงกลายเป็นพระพุทธเจ้าพระองค์หนึ่ง
 
== การตีความ ==
บรรทัด 24:
มีผู้เสนอแนวคิดเกี่ยวกับที่ตั้งของศัมภลานครเช่นกัน ที่นิยมที่สุดว่าตั้งอยู่กลางเอเชีย ไม่ก็เหนือหรือตะวันตกของประเทศทิเบต ตำราโบราณของวัฒนธรรมเซี่ยงสฺยงระบุว่า ศัมภลานครคือ[[Sutlej|หุบเขาษุตุทริ]] (Śutudri) [[รัฐปัญจาบ]] [[ประเทศอินเดีย]] ส่วนชาวมองโกลเห็นว่า ศัมภลานครเป็นหุบเขาบางแห่งทางใต้ของ[[ไซบีเรีย]] ขณะที่คติชน[[ชาวอัลไต|อัลไต]]เชื่อว่า [[Belukha Mountain|ภูเขาเบลุกา]] (Belukha Mountain) ใน[[ประเทศรัสเซีย]] เป็นปากทางศัมภลานคร ฝ่ายนักพุทธศาสตร์ในปัจจุบันราวกับจะได้ข้อยุติว่า ศัมภลานครเป็นหมู่เขาอยู่ทางตอนเหนือของ[[หิมาลัย]]ซึ่งเรียกว่า [[Dhauladhar|เธาลธาร]] (Dhauladhar)
 
ส่วนความหมายภายในและความหมายเผื่อเลือกนั้น มุ่งหมายถึง การทำความเข้าใจโดยแยบคายว่า ศัมภลานครละสื่อถึงสิ่งใดในกายและใจของมนุษย์ และในทางวิปัสสนา การสั่งสอนความหมายทั้งสองประการนี้มักเป็นไปในระหว่างอาจารย์กับศิษย์แบบปากต่อปาก
 
== เชิงอรรถ ==
บรรทัด 47:
 
[[หมวดหมู่:ศาสนาพุทธแบบทิเบต]]
[[หมวดหมู่:เทวหลักการวญาณ]]
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/ศัมภละ"