ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รางวัลแด่คนช่างฝัน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Rameshe999 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 5:
เพลงนี้เกิดจากความรู้สึกนึกคิดของผู้แต่ง ว่าในโลกเรานี้มีผู้คนมากมายที่ได้ต่อสู้ ฝ่าฝัน เพื่อชีวิตของตัวเอง เปลี่ยนแปลงในทางที่ควร หรือทำทุกสิ่งทุกอย่างให้ประสบผลสำเร็จจากปัญหาที่ก่ออยู่ แต่ก็มีอีกหลายคนที่กำลังมีความฝันแต่แรงน้อย เพราะยังขาดความช่วยเหลือ ความเห็นใจ หรือขาดกำลังใจจากผู้ปรารถนาดีที่จะสร้างพลังใจของตนให้ลุกขึ้นสู้ จึงเกิดเพลงนี้ขึ้นมาเพื่อต้องการถ่ายทอดไปยังผู้มีความช่างคิดช่างฝัน ด้วยแนวดนตรีสตริงฟังง่าย แต่เนื้อหาสร้างสรรค์ จนกลายเป็นเพลงดังตลอดกาลอีกเพลงหนึ่งของจรัล มโนเพ็ชร ที่ไม่ใช่เพลงภาษาถิ่นเช่นผลงานชุดก่อนๆ
 
ภายหลังเพลงนี้ยังได้มีการแปลเนื้อร้องเป็น[[ภาษาอังกฤษ]]อีกด้วย ซึ่งคุณหญิงจำนงศรี หาญเจนลักษณ์ เป็นผู้ประพันธ์คำร้อง และใช้ชื่อเพลงว่า "To the Brave Dreamer" โดยมอบให้ ไตรศุลี มโนเพ็ชร บุตรชายของจรัล เป็นผู้ขับร้องครั้งแรก ในงานคอนเสิร์ต "ตำนานโฟล์ค บนลานหญ้านุ่ม ใต้ดวงดาว" ที่สนามหญ้าด้านหลังหอประชุม[[เมืองไทยประกันชีวิต]] เมื่อปี [[พ.ศ. 2541]]
ปัจจุบัน "รางวัลแด่คนช่างฝัน" เป็นอีกหนึ่งเพลงของจรัลที่ได้รับการเปิดฟังอยู่ตลอด และยังได้รับความนิยมเรื่อยมา แม้กระทั่งผู้ที่ไม่เคยสัมผัสงานเพลงของนักร้องต้นฉบับจะได้ยินเพลงนี้จากนักร้องท่านอื่นๆ แนวต่างๆ ที่นำเอามาขับร้อง <ref>http://www.manager.co.th/Entertainment/ViewNews.aspx?NewsID=9520000154443</ref>
 
== ฉบับอื่นๆ ==
เพลง '''"รางวัลแด่คนช่างฝัน"''' มีการนำมาขับร้องใหม่หลายครั้ง โดยนักร้องหลายคน หลายคณะ ดังนี้
# [[จรัล มโนเพ็ชร]] ในชุด "ลำนำแห่งขุนเขา" ร่วมกับวงไหมไทยออเคสตร้า