ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อนุสาวรีย์ทหารอาสาสงครามโลกครั้งที่ 1"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Anonimeco (คุย | ส่วนร่วม)
โยงไปหน้าที่มี
Armonthap (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1:
{{Infobox monumentmilitary memorial
| name = อนุสาวรีย์ทหารอาสา
| image = Monument aux morts 14-18.jpg
| body = [[ประเทศไทย]]
| caption =
| image = Monument aux morts 14-18.jpg
| location = ถนนสามเหลี่ยมตรงมุมด้านทิศเหนือของ[[ท้องสนามหลวง]] ตรงข้าม[[พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร]] [[กรุงเทพมหานคร]]
| caption =
| designer = [[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัติวงศ์|สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระนริศรานุวัติวงศ์]] (พระอิสริยยศในขณะนั้น)
| commemorates = ทหารอาสาชาวไทยที่เสียชีวิตใน[[สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง|การพระราชสงคราม ณ ทวีปยุโรป]]
| type = อนุสรณ์สถาน, [[สถูป]]
| established = 24 กันยายน พ.ศ. 2462
| material = หินอ่อน
| unveiled = กันยายน พ.ศ. 2462
| length =
| location = ถนนสามเหลี่ยมตรงระหว่าง[[ถนนหน้าพระธาตุ]]และ[[ถนนราชินี]] ทางมุมด้านทิศเหนือของ[[ท้องสนามหลวง]] ตรงข้าม[[พิพิธภัณฑสถานโรงละครแห่งชาติ พระนคร(ประเทศไทย)|โรงละครแห่งชาติ]] [[กรุงเทพมหานคร]]
| width =
| designer = [[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์]]
| height =
| total_burials = 19 นาย
| begin =
| complete unknowns =
| commemorated =
| open = พ.ศ. 2462
| by_country = [[ประเทศไทย]]
| dedicated_to = [[ทหาร]]ไทยที่ไปร่วมรบในสมรภูมิ[[ทวีปยุโรป|ยุโรป]]ใน[[สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง]]
| by_war = [[สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง]]
| map_name =
| inscription = <!--ณ วันที่ ๒๒ กรกฎาคม พระพุทธศักราช ๒๔๖๐ พระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทร มหาวชิราวุธพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้มีพระบรมราชโองการมาณ พระสุรส
| map_caption =
หนาท ให้ประกาศสงคราม แก่ประเทศเยร์มเนียและเอ๊าสเตรีย ฮุงกาเรีย. ซึ่งได้กระทำสงครามมาแล้ว แต่วันที่ ๑ สิงหาคม พระพุทธศักราช ๒๔๕๗ กับประเทศซึ่งรวมกันเป็นสัมพันธ มิตรหมู่ใหญ่. มีประเทศอังกฤษ ฝรั่งเศส, รุสเซีย, เบลเยี่ยม, เซอร์เบียเป็นอาทิ. ทั้งต่อมาประเทศ อิตาเลียประเทศรวมในอเมริกาเหนือ และอื่น ๆ ได้รวมเข้าใน หมู่สัมพันธมิตรนั้นด้วย. ทั้งนี้เพราะ ทรงพระราชดำริเห็นประจักษ์ว่า ประเทศเยร์มเนียและเอ๊าสเตรีย ฮุงกาเรียนั้นได้ดำเนีนการสงคราม ในวิธีปราศจากธรรมะละทิ้ง ขนบธรรมเนียมที่ตกลงไว้ระหว่าง ประเทศ. จึงมีพระราชประสงค์ ที่จะค้ำชูธรรมะระหว่างประเทศ ไว้ให้คงอยู่ในความศักสิทธิ์. ปราบปรามผู้ประพฤติผิดให้ปราชัย ครั้น ณ วันที่ ๒๑ กันยายน พระพุทธศักราช ๒๔๖๐. ได้มีพระบรมราชโองการดำรัส สั่งให้เสนาบดีกระทรวงกะลาโหม ออกประกาศเรียกคนอาสาที่จะไป งานพระราชสงคราม ณ ทวีปยุโหรป. ก็ได้มีบุคคลทั้งที่รับราชการทหาร อยู่แล้วในขณะนั้นและที่เป็นพลเรือน, ได้ยินดีอาสาเป็นจำนวนมากมาย. เจ้าน่าที่ได้คัดเลือกแต่พอสมควร เท่าจำนวนที่ต้องการ. แล้วก็จัด เป็นกองบิน ๑ กอง, กองรถยนตร์ ๑ กอง กองพยาบาล ๑ กอง เพื่อส่งออกไปเป็นผู้แทนชาติไทย ในมหายุทธสงคราม. ครั้นถึง ณ วันที่ ๑๙ มิถุนายน พระพุทธศักราช ๒๔๖๑. กองทหารเหล่านี้ก็ได้ออกจาก กรุงเทพพระมหานครลงเรือไปสู่ ยุโหรป. ขึ้นท่าที่เมืองมาร์เซย. กรกฎาคมปีเดียวกันนั้น กองทหาร ได้แยกย้ายกันไปรับความฝึกหัด เพิ่มเติมอยู่ ณ ตำบลต่าง ๆ.-->
| coordinates =
| website embedded =
| source =
}}
 
'''อนุสาวรีย์ทหารอาสา''' เป็น[[อนุสาวรีย์]]ที่ตั้งอยู่ ณ ถนนสามเหลี่ยมตรงมุมด้านทิศเหนือของ[[ท้องสนามหลวง]] ตรงข้าม[[พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร]] เป็นอนุสรณ์แก่[[ทหาร]]ไทยที่ไปร่วมรบในสมรภูมิ[[ทวีปยุโรป|ยุโรป]] หลังจากที่[[สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง]]อุบัติขึ้นเมื่อ [[พ.ศ. 2457]] โดย[[ประเทศไทย]]ร่วมกับ[[ฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง|ฝ่ายสัมพันธมิตร]] อันมี[[ประเทศฝรั่งเศส|ฝรั่งเศส]] [[ประเทศอังกฤษ|อังกฤษ]] และ[[สหรัฐอเมริกา]] ประกาศสงครามกับ[[ประเทศเยอรมนี|เยอรมนี]]และ[[จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี|ออสเตรีย-ฮังการี]] เมื่อวันที่ [[22 กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 2460]]<ref name="monument">ตรี อมาตยกุล, อนุสาวรีย์วีรชนไทย, กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ, กรุงเทพฯ, 2520, หน้า 58-60</ref>