ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สายทิพย์ มนตรีกุล ณ อยุธยา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nattayut.L (คุย | ส่วนร่วม)
Magnamonkun (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 9:
| other_names = สายทิพย์ ประภาษานนท์
| education = [[คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย|นิเทศศาสตรบัณฑิต]] (สื่อสารมวลชน) (รุ่นที่ 13) <br/>[[จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]]
| occupation = [[ผู้บริหาร]] [[บริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จำกัด (มหาชน)]] , [[ดีเจ]], พิธีกร, ผู้จัดละคร
| years_active = พ.ศ. 2525 - ปัจจุบัน
| employer =
| employer = [[จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่|บริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จำกัด (มหาชน)]]
| organization=
| known_for = ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร (สายธุรกิจสื่อ) บริษัท จีเอ็มเอ็มเชนจ์ แกรมมี่2561 จำกัด (มหาชน)<br/>คลับ ฟรายเดย์
| religion = [[พุทธ]]
| spouse = หย่า
บรรทัด 19:
}}
 
'''สายทิพย์ มนตรีกุล ณ อยุธยา''' หรือ '''สายทิพย์ ประภาษานนท์''' {{ชื่อเล่น|ฉอด}} เกิดเมื่อ {{วันเกิด|2499|12|24}} เป็นที่รู้จักในชื่อ '''ดีเจพี่ฉอด''' เป็นนักจัดรายการวิทยุและผู้บริหาร ปัจจุบันดำรงตำแหน่ง ประธานบริหารบริษัทแกรมมี่ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร (สายธุรกิจสื่อ)บริษัท ({{lang-en|Chiefเชนจ์ Executive2561 Officer (Media Business)}}) ของจำกัด ในเครือ[[จีเอ็มเอ็มเดอะ แกรมมี่|บริษัทวัน จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จำกัด (มหาชน)เอ็นเตอร์ไพรส์]]<ref>[http://www.gotomanager.com/photos/collection.aspx?id=3952 สายทิพย์ มนตรีกุล ณ อยุธยา]</ref>
 
== ประวัติ ==
บรรทัด 27:
 
ปี พ.ศ. 2532 [[เรวัติ พุทธินันท์]] และ ไพบูลย์ ดำรงชัยธรรม ผู้ก่อตั้ง บริษัท แกรมมี่เอ็นเตอร์เทนเมนต์ จำกัด ที่เคยได้ร่วมงานกันมาแล้วก่อนหน้านี้ ได้มาชักชวนให้กลับไปทำงานที่แกรมมี่อีกครั้ง โดยแกรมมี่มีแผนจะขยายธุรกิจสู่ธุรกิจวิทยุจึงได้จัดตั้งบริษัทเพื่อผลิตรายการวิทยุ ภายใต้ชื่อ [[เอ-ไทม์ มีเดีย |บริษัท เอ-ไทม์ มีเดีย จำกัด]] <ref>[http://www.gotomanager.com/news/printnews.aspx?id=3351 บริษัทในเครือแกรมมี่ กรุ๊ป]</ref> เริ่มแรกได้ผลิตรายการวิทยุ 2 คลื่นความถี่คือ [[กรีนเวฟ 106.5 เอฟเอ็ม|กรีนเวฟ]] และ [[91.5 ฮอตเอฟเอ็ม|ฮอตเวฟ]] หลังจากนั้นได้มีการขยายงานเพิ่มมากขึ้นได้ดำรงตำแหน่งที่สูงขึ้นตามลำดับ โดยเป็นผู้บริหารควบคู่ไปกับการจัดรายการวิทยุ ด้านการบริการปัจจุบันดำรงตำแหน่ง ประธานกรรมการการบริหาร (สายธุรกิจสื่อ) บริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ (มหาชน) ด้านงานจัดรายการวิทยุจัดรายการ คลับ ฟรายเดย์ ({{lang-en|Club Friday}}) และ คืนพิเศษคนพิเศษ ทางสถานีวิทยุกรีนเวฟ และ สถานีโทรทัศน์ดาวเทียมกรีน แชนแนล
 
ในปี พ.ศ. 2557 สายทิพย์ได้รับหน้าที่ให้เข้าบริหารสถานีโทรทัศน์[[จีเอ็มเอ็ม 25]] ซึ่งต่อมาบริษัทนี้ได้ควบรวมกับกลุ่มทีซีซีจึงทำให้บทบาทการเป็นผู้บริหารในเครือแกรมมี่ลดลงเหลือเพียงกรรมการบริษัท จนกระทั่งใน พ.ศ. 2561 สายทิพย์ได้จัดตั้ง บริษัท เชนจ์ 2561 จำกัด ขึ้นเพื่อเปลี่ยนสถานะผู้ผลิตของจีเอ็มเอ็ม 25 ให้กลายเป็นบริษัทคอนเทนต์ครีเอเตอร์แห่งหนึ่งของไทย และบริษัทนี้ได้ควบรวมเข้า [[เดอะ วัน เอ็นเตอร์ไพรส์]] พร้อม ๆ กับ จีเอ็มเอ็ม แชนแนล โฮลดิ้ง เมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ. 2563 ปัจจุบันสายทิพย์ลาออกจากตำแหน่งกรรมการจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ เมื่อวันที่ 5 มกราคม พ.ศ. 2561 เพื่อดูแลบริษัท เชนจ์ 2561 แบบเต็มตัว
 
== ครอบครัว ==
เส้น 36 ⟶ 38:
 
==== จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ ====
* '''พ.ศ. 2560 - ปัจจุบันพ.ศ. 2563''' รองประธานบริหารบริษัทแกรมมี่
* '''พ.ศ. 2555 - ปัจจุบันพ.ศ. 2563''' ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร (สายธุรกิจสื่อ)
* '''พ.ศ. 2552 - ปัจจุบันพ.ศ. 2563''' กรรมการบริหารความเสี่ยง
* '''พ.ศ. 2545 - ปัจจุบันพ.ศ. 2563''' กรรมการ
* '''พ.ศ. 2552 - พ.ศ. 2555''' ประธานเจ้าหน้าที่บริหารร่วม , ประธานกรรมการบริหารร่วม (ร่วมกับ บุษบา ดาวเรือง)
* '''พ.ศ. 2532 - พ.ศ. 2552''' กรรมการบริหาร
 
==== จีเอ็มเอ็ม มีเดีย ====
* '''พ.ศ. 2552 - ปัจจุบันพ.ศ. 2563''' ประธานกรรมการ
* '''พ.ศ. 2550 - ปัจจุบันพ.ศ. 2563''' ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร
* '''พ.ศ. 2545 - ปัจจุบันพ.ศ. 2563''' กรรมการผู้จัดการ , กรรมการ
* '''พ.ศ. 2551 - พ.ศ. 2552''' รองประธานกรรมการ
* '''พ.ศ. 2550 - พ.ศ. 2552''' ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง