ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษาบาลี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
.
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Theo.phonchana (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 111:
* '''วจนะ''' (วจน) (Number) หรือพจน์ ได้แก่ เอกวจนะ และ พหุวจนะ
* '''การก''' (Case) [[การก]]คือหน้าที่ของนามในประโยค อันได้แก่
*# '''ปฐมาปฐมาวิภัตติ''' หรือ [[กรรตุการก]]/กัตตุการก (กตฺตุการก) (Nominative) เป็นประธานหรือผู้กระทำ (มักแปลโดยใช้คำว่า อ.. (อันว่า)....)
*# '''ทุติยาวิภัตติ''' หรือ กรรมการก (กมฺมการก; กัมมการก) (Accusative) เป็นกรรม (ซึ่ง..., สู่...)
*# '''ตติยาตติยาวิภัตติ''' หรือ กรณการก (Instrumental) เป็นเครื่องมือในการกระทำ (ด้วย..., โดย..., อัน...., ตาม.....)
*# '''จตุตถีวิภัตติ''' (จตุตฺถี) หรือ สัมปทานการก (สมฺปทานการก) (Dative) เป็นกรรมรอง (แก่..., เพื่อ..., ต่อ...)
*# '''ปัญจมีวิภัตติ''' (ปญฺจมี) หรือ อปาทานการก (Ablative) เป็นแหล่งหรือแดนเกิด (แต่..., จาก..., กว่า...)
*# '''ฉัฏฐีฉัฏฐีวิภัตติ''' (ฉฏฺฐี) หรือ สัมพันธการก (สมฺพนฺธการก) (Genitive) เป็นเจ้าของ (แห่ง..., ของ...)
*# '''สัตตมีตมีวิภัตติ''' (สตฺตมี) หรือ อธิกรณการก (Locative) สถานที่ (ที่..., ใน...)
*# '''อาลปนะวิภัตติ''' (อาลปน) หรือ สัมโพธนาการก (สมฺโพธนาการก) (Vocative) อุทาน, เรียก (ดูก่อน...)
* '''สระการันต์''' (สรการนฺต) (Termination Vowel) คือสระลงท้ายของคำศัพท์ที่เป็นนาม เพราะสระลงท้ายที่ต่าง ๆ กัน ก็จะต้องเติมวิภัตติที่ต่าง ๆ กันไป
 
ตัวอย่างเช่น คำว่า ''สงฺฆ'' คำนี้มีสระ ''อะ'' เป็นการันต์และเพศชาย
เมื่อนำไปใช้เป็นประธานเอกพจน์ (กรรตุการก เอกพจน์) จะผันเป็น ''สงฺโฆ'' (สงฺฆ + -สิ ปฐมาวิภัตติ), ประธานพหูพจน์ (กรรตุการก พหูพจน์) เป็น ''สงฺฆา'' (สงฺฆ + -โย ปฐมาวิภัตติ),
กรรมตรงเอกพจน์ (กรรมการก เอกพจน์) เป็น ''สงฺฆํ'' (สงฺฆ + -อํ ทุติยาวิภัตติ), กรรมรองเอกพจน์ (สัมปทานการก เอกพจน์) เป็น ''สงฺฆสฺส'' (สงฺฆ + -ส จตุตถีวิภัตติ) ฯลฯ<br />
หรือคำว่า ''ภิกฺขุ'' คำนี้มีสระ ''อุ'' เป็นการันต์และเพศชาย
เมื่อนำไปใช้เป็นประธานเอกพจน์ (กรรตุการก เอกพจน์) ก็ผันเป็น ''ภิกฺขุ'' (ภิกฺขุ + -สิ ปฐมาวิภัตติ), ประธานพหูพจน์ (กรรตุการก พหูพจน์) เป็น ''ภิกฺขโว'' หรือ ''ภิกฺขู'' (ภิกฺขุ + -โย ปฐมาวิภัตติ),
กรรมตรงเอกพจน์ (กรรมการก เอกพจน์) เป็น ''ภิกฺขุํ'' (ภิกฺขุ + -อํ ทุติยาวิภัตติ), กรรมรองเอกพจน์ (สัมปทานการก เอกพจน์) เป็น ''ภิกฺขุสฺส'' หรือ ''ภิกฺขุโน'' (ภิกฺขุ + -ส จตุตถีวิภัตติ) ฯลฯ<br />
 
=== การผันคำกริยา (Verb Conjugation) ===