ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สงครามเก้าทัพ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
NewFrontierHistoryThai (คุย | ส่วนร่วม)
NewFrontierHistoryThai (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 25:
[[ไฟล์:Flag of Thailand (1782).svg|20px|border]] พระยากลาโหมราชเสนา <br>
[[ไฟล์:Flag of Thailand (1782).svg|20px|border]] พระยาจ่าแสนยากร <br>
[[ไฟล์:Seal_of_Prince_Chiang_Mai.jpg|20px|border]] [[พระเจ้ากาวิละ|พระยาเจ้ากาวิละ]] <br>
[[ไฟล์:Flag of Thailand (1782).svg|20px|border]] [[เจ้าพระยาสุธรรมมนตรี (พัฒน์ ณ นคร)|เจ้าพระยานครศรีธรรมราช (พัฒน์)]] <br>
[[ไฟล์:Flag of Thailand (1782).svg|20px|border]] พระยายมราช (ทองอิน) <br>
[[ไฟล์:Flag of Thailand (1782).svg|20px|border]] [[เจ้าพระยาพระคลัง (หน)|พระยาพระคลัง (หน)]] <br>
[[ไฟล์:Flag of Thailand (1782).svg|20px|border]] [[เจ้าพระยาอรรคมหาเสนา (บุนนาค)|พระยาอุไทยธรรม (บุนนาค)]] <br>
[[ไฟล์:Flag of Thailand (1782).svg|20px|border]] [[ท้าวเทพกระษัตรีและท้าวศรีสุนทร|คุณหญิงจันและคุณหญิงมุก]]
| กำลังพล1=144,000 นาย
เส้น 37 ⟶ 34:
{{ประวัติศาสตร์ไทย}}
 
'''สงครามเก้าทัพ''' หรือ'''สงครามพม่า-สยาม พ.ศ. 2328-2329''' (Burmese-Siamese War 1785-1786) เป็นสงครามระหว่าง[[ราชวงศ์คองบอง|อาณาจักรพม่า]]กับ[[อาณาจักรรัตนโกสินทร์ (สมัยสมบูรณาญาสิทธิราช)|อาณาจักรรัตนโกสินทร์]]ในรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช]] หลังจากการสถาปนากรุงเทพมหานครเป็นราชธานีได้เพียงห้าสามปี [[พระเจ้าปดุง]]กษัตริย์แห่งพม่า[[ราชวงศ์โก้นบอง]]มีพระราชโองการให้ยกทัพเข้าโจมตีอาณาจักรสยามเป็นจำนวนเก้าทัพมาจากหลายทิศทาง ฝ่ายสยามถึงแม้มีกำลังพลน้อยกว่าแต่สามารถต้านทานการรุกรานของพม่าได้สำเร็จ ทำให้ฝ่ายพม่าต้องปราชัย สงครามเก้าทัพเป็นการรุกรานของพม่าครั้งแรกในสมัยรัตนโกสินทร์ และนำไปสู่[[สงครามท่าดินแดง]]ในปีต่อมาพ.ศ. 2329
 
== เหตุการณ์นำ ==
ความขัดแย้งเรื่องอิทธิพลในหัวเมืองมอญ เมืองทวายมะริดและตะนาวศรี<ref>[[กรมพระยาดำรงราชานุภาพ|ดำรงราชานุภาพ, สมเด็จกรมพระยา]]. '''พงษาวดารเรื่องเรารบพม่า ครั้งกรุงศรีอยุทธยา'''.</ref> และแนวคติความเป็นพระจักรพรรดิราชนำไปสู่การรุกรานอาณาจักรสยามของพม่า หลังจาก[[การเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง]] [[สมเด็จพระเจ้าตากสิน]]ทรงขับอิทธิพลของพม่าออกไปและฟื้นฟูอาณาจักรสยามขึ้นอีกครั้ง ใน[[สงครามอะแซหวุ่นกี้]]การรบส่วนใหญ่เกิดขึ้นในหัวเมืองเหนือได้แก่สวรรคโลก สุโขทัย และพิษณุโลก ทำให้หัวเมืองเหนือได้รับความเสียหายสูญเสียกำลังพลประชากรเหลืออยู่น้อย<ref name=":1" />
[[ไฟล์:King Bodawpaya in 1795.jpg|left|thumb|พระสาทิสลักษณ์[[พระเจ้าปดุง]] ขณะประทับที่[[พระราชวังมัณฑะเลย์]] โดยชาวอังกฤษในปีพ.ศ. 2338]]
ในปีพ.ศ. 2325 [[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก|พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกฯ]]ทรงสร้าง[[กรุงเทพมหานคร]]ขึ้นเป็นราชธานีแห่งใหม่ของสยามและทรงปราบดาภิเษกสถาปนา[[พระราชวงศ์จักรี]]<ref name=":0" /> ในปีเดียวกันนั้น [[พระเจ้าปดุง]] (Badon Min) ทรงปลด[[พระเจ้าหม่องหม่อง]]ออกราชราชสมบัติและปราบดาภิเษกขึ้นเป็นกษัตริย์แห่งอาณาจักรพม่า[[ราชวงศ์โก้นบอง]] (Konbaung dynasty) ในรัชสมัยของพระเจ้าปดุงอาณาจักรพม่าราชวงศ์โก้นบองเรืองอำนาจขึ้นอีกครั้ง พระเจ้าปดุงทรงส่งพระโอรส"อินแซะ (Ainshe หรือ Einshay) มหาอุปราช"ยกทัพไปโจมตีเมืองธัญญวดีหรือเมืองมเยาะอู้ (Mrauk-U) ราชธานีของ[[อาณาจักรมเยาะอู้|อาณาจักรยะไข่]] จนสามารถผนวกอาณาจักรยะไข่เข้าเป็นส่วนหนึ่งของพม่าได้สำเร็จในพ.ศ. 2328 หลังจากที่ทรงปราบกบฏของตะแคงแปงตะเลพระอนุชาได้สำเร็จในปีเดียวกัน ด้วยคติความเป็นพระจักรพรรดิราช พระเจ้าปดุงจึงดำริที่จะกรีฑาทัพเข้ารุกรานอาณาจักรสยามในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกฯ หลังจากที่สถาปนากรุงเทพฯเป็นราชธานีได้เพียงห้าสามปี เพื่อสร้างอาณาจักรพม่าให้มีอำนาจเกรียงไกรดังเช่นที่เคยเป็นในรัชสมัย[[พระเจ้าบุเรงนอง]]และ[[พระเจ้ามังระ]]
 
==การจัดเตรียมทัพฝ่ายพม่า==