ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อักษรจีนตัวย่อ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 26:
'''อักษรจีนตัวย่อ''' ({{zh-all|t=簡體字/簡化字|s=简体字/简化字|p=jiǎntǐzì/jiǎnhuàzì}} ''เจี่ยนถี่จื้อ/เจี่ยนฮั่วจื้อ'')<ref>อ้างอิงจากประกาศอย่างเป็นทางการ: [[:zh:汉字简化方案|汉字简化方案]] , [[:zh:简化字总表|简化字总表]] , และอื่น ๆ.</ref> เป็นหนึ่งในสองรูปแบบ[[อักษรจีน]]มาตรฐานที่ใช้กันทั่วโลกในปัจจุบัน อักษรจีนตัวย่อประดิษฐ์และเริ่มใช้โดยรัฐบาล[[พรรคคอมมิวนิสต์จีน]]ของ[[สาธารณรัฐประชาชนจีน]] ([[จีนแผ่นดินใหญ่]]) ใน [[พ.ศ. 2492]] เหตุที่ต้องเรียกว่าอักษรจีนตัวย่อ หรือ Simplified Chinese character ก็เพื่อให้แตกต่างจากอักษรจีนมาตรฐานอีกรูปแบบหนึ่งที่ในปัจจุบัน นั่นคือ [[อักษรจีนตัวเต็ม]] หรือ Traditional Chinese Character (อักษรจีนดั้งเดิม)
 
อักษรจีนตัวย่ออาจถูกเรียกโดยชื่ออย่างเป็นทางการว่า ({{zh|s={{linktext|简体字}}|p={{Audio|Zh-jiantizì.ogg|เจี่ยนถี่จื้อ|help=no}}|labels=no}}) หมายถึงการทำให้เข้าใจง่ายของตัวอักษร "โครงสร้าง" หรือ "รูปร่าง" เนื่องจากอักษรจีนตัวเต็มมีรูปแบบตัวอักษรแบบดั้งเดิมและโบราณ ที่มีอยู่เป็นนับพันปีมีความยุ่งยากและซับซ้อนในการเขียนมาก ในทางตรงกันข้ามอักษรจีนตัวย่อชื่ออย่างเป็นทางการหมายถึง ชุดอักขระที่เรียบง่ายทันสมัยอย่างเป็นระบบซึ่ง (ตามที่ระบุไว้โดยประธาน[[เหมา เจ๋อตง]]ในปี ค.ศ. 1952) ไม่เพียงแต่รวมถึงการลดความซับซ้อนของโครงสร้าง แต่ยังลดจำนวนตัวอักษรจีนให้ได้มาตรฐานอีกด้วย<ref name=Mao>{{cite web|url=https://news.qq.com/a/20120509/000594.htm|title=书同文 :《汉字简化方案》制订始末|lang=Chinesezh|date=10 May 2012|publisher=新华网|via=腾讯新闻|author=黄加佳|editor=younghuang|accessdate=1 November 2019}}</ref>
 
ในปัจจุบัน[[อักษรจีนตัวเต็ม]]ได้ใช้อย่างเป็นทางการใน[[สาธารณรัฐจีน]] (ไต้หวัน) ที่ยังคงอนุรักษ์รูปแบบการเขียนดั้งเดิมของอักษรจีนตัวเต็มไว้เป็นอักษรทางการ นอกจากนี้อักษรจีนตัวเต็มยังใช้ใน [[ฮ่องกง]] [[มาเก๊า]] และชุมชน[[ชาวจีนโพ้นทะเล]]บางชุมชนที่เริ่มตั้งชุมชนก่อนการใช้อักษรจีนตัวย่ออย่างแพร่หลาย