ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สะพานเหล็ก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Mr.BuriramCN (คุย | ส่วนร่วม)
ยุทธนาสาระขันธ์ (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขขั้นสูงด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1:
{{ระวังสับสน|สะพานเหล็ก (เชียงใหม่)}}
[[ไฟล์:Bkksaphandamrongsathit0205a.jpg|thumb|250px|สะพานดำรงสถิตในปี พ.ศ. 2545]]
'''สะพานเหล็ก''' คือ สะพานเหล็กข้าม[[คลองรอบกรุง]] บริเวณ[[คลองโอ่งอ่าง]] ของ[[กรุงเทพมหานคร]] บน[[ถนนเจริญกรุง]] ในพื้นที่แขวงวังบูรพาภิรมย์ [[เขตพระนคร]] [[กรุงเทพมหานคร]] มีชื่อเรียกอย่างทางการว่า "สะพานดำรงสถิต"
ในปีพุทธศักราช 2438 [[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] โปรดเกล้าฯ ให้ขยายถนนเจริญกรุงและรื้อสร้างสะพานเหล็กใหม่เป็นสะพานโครงเหล็กเปิดได้ การก่อสร้างสะพานเหล็กบนทำให้ต้องมีการย้ายประตูและกำแพงวังที่ประทับของ[[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ]] ริมถนนเจริญกรุงบางส่วน จึงโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามว่า "สะพานดำรงสถิต" เพื่อเป็นเกียรติแด่สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ สำหรับสะพานเหล็กล่าง พระราชทานนามว่า "[[สะพานพิทยเสถียร]]" เพื่อเป็นเกียรติแก่[[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมขุนพิทยลาภพฤฒิธาดา]]ซึ่งมีวังที่ประทับตั้งอยู่ใกล้กับ[[สะพาน]] โดยทั้ง 2 สะพานนี้ [[ช่วง บุนนาค|เจ้าพระยาศรีสุริยวงศ์]]ในฐานะแม่กองจัดสร้าง สิ้นเงินไปทั้งสิ้น 23,200 บาท และในปีพุทธศักราช 2518 ทั้ง 2 สะพานได้ถูกขึ้นทะเบียนโดย[[กรมศิลปากร]]ให้เป็นโบราณสถานของชาติ
 
บริเวณเชิงสะพานเหล็ก และรวมไปถึงบริเวณใกล้เคียงคือ [[คลองถม]] เคยเป็นแหล่งค้าขายสินค้าที่คับคังมากคับคั่งมาก โดยเฉพาะในวันหยุดสุดสัปดาห์ มีสินค้าหลากหลายประเภท เช่น [[วิดีโอเกม]], โมเดลตุ๊กตา, เครื่องใช้ไฟฟ้า, [[ซีดี]] และสินค้าละเมิดลิขสิทธิ์รวมถึง[[สื่อลามก]]อนาจารอีกจำนวนมาก จนกลายเป็นแหล่งการค้าที่เป็นที่รู้จักกันดี แต่ทว่าในช่วงกลางปีค่อนไปทางปลายปี พ.ศ. 2558 รัฐบาลโดย[[กรุงเทพมหานคร (องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น)|กรุงเทพมหานคร]]มีดำรินโยบายที่จะปรับปรุงภูมิทัศน์ของสองข้างทางคลองโอ่งอ่าง จึงมีการรื้อถอนสิ่งปลูกสร้างและร้านค้าทั้งหมด จึงเผยให้เป็นสภาพของตัวสะพานชัดเจน และรวมไปถึงสะพานอื่น ๆ ที่อยู่ใกล้เคียงกัน ได้แก่ [[สะพานภาณุพันธ์]], [[สะพานหัน]] และสะพานบพิตรพิมุข รวมถึงสะพานโอสถานนท์ ที่อยู่สุดปลายคลองบริเวณเชิง[[สะพานพระปกเกล้า]]ฝั่งข้ามไปยังฝั่งธนบุรี
โดยทั้ง 2 สะพานนี้ [[ช่วง บุนนาค|เจ้าพระยาศรีสุริยวงศ์]]ในฐานะแม่กองจัดสร้าง สิ้นเงินไปทั้งสิ้น 23,200 บาท
 
ในปีพุทธศักราช 2518 ทั้ง 2 สะพานได้ถูกขึ้นทะเบียนโดย[[กรมศิลปากร]]ให้เป็นโบราณสถานของชาติ
 
บริเวณเชิงสะพานเหล็ก และรวมไปถึงบริเวณใกล้เคียงคือ [[คลองถม]] เคยเป็นแหล่งค้าขายสินค้าที่คับคังมาก โดยเฉพาะในวันหยุดสัปดาห์ มีสินค้าหลากหลายประเภท เช่น [[วิดีโอเกม]], โมเดลตุ๊กตา, เครื่องใช้ไฟฟ้า, [[ซีดี]] และสินค้าละเมิดลิขสิทธิ์รวมถึง[[สื่อลามก]]อนาจารอีกจำนวนมาก จนกลายเป็นแหล่งการค้าที่เป็นที่รู้จักกันดี แต่ทว่าในช่วงกลางปีค่อนไปทางปลายปี พ.ศ. 2558 รัฐบาลโดย[[กรุงเทพมหานคร (องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น)|กรุงเทพมหานคร]]มีดำริที่จะปรับปรุงภูมิทัศน์ของสองข้างทางคลองโอ่งอ่าง จึงมีการรื้อถอนสิ่งปลูกสร้างและร้านค้าทั้งหมด จึงเผยให้เป็นสภาพของตัวสะพานชัดเจน และรวมไปถึงสะพานอื่น ๆ ที่อยู่ใกล้เคียงกัน ได้แก่ [[สะพานภาณุพันธ์]], [[สะพานหัน]] และสะพานบพิตรพิมุข รวมถึงสะพานโอสถานนท์ ที่อยู่สุดปลายคลองบริเวณเชิง[[สะพานพระปกเกล้า]]ฝั่งข้ามไปยังฝั่งธนบุรี
 
==ดูเพิ่ม==