ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รัฐประหารในประเทศไทย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Portalian (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2:
 
ผู้ก่อการรัฐประหารในประเทศไทยเป็นผลสำเร็จ ส่วนใหญ่เกิดจากฝ่าย[[กองทัพบกไทย|กองทัพบก]]<ref>https://prachatai.com/journal/2017/01/69609</ref> ส่วน[[ทหารเรือ]]เคยพยายามก่อรัฐประหารมาแล้ว ในกรณี[[กบฏวังหลวง]] เมื่อปี [[พ.ศ. 2492]] และ[[กบฏแมนฮัตตัน]] เมื่อปี [[พ.ศ. 2494]] แต่กระทำการไม่สำเร็จ แล้วหลังจากนั้น ทหารเรือก็เสียอำนาจในการเมืองไทยไป<ref>http://www.manager.co.th/Around/ViewNews.aspx?NewsID=9480000171537</ref><ref>http://www.politicalbase.in.th/index.php?title=%E0%B8%81%E0%B8%9A%E0%B8%8E%E0%B9%81%E0%B8%A1%E0%B8%99%E0%B8%AE%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%95%E0%B8%B1%E0%B8%99</ref>
 
ในกรณีประเทศไทย<ref>[http://ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2018/TU_2018_5701035023_10640_11135.pdf “ปัญหาทางกฎหมายเกี่ยวกับการจัดทำยุทธศาสตร์ชาติของประเทศไทย.” วิทยานิพนธ์ศิลปศาตรมหาบัณฑิต สาขาวิชากฎหมายมหาชน คณะนิติศาสตร์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2561. หน้า 247]</ref> เมื่อคณะรัฐประหารได้ทำการยึดอำนาจได้สำเร็จคณะรัฐประหารในไทยมักจะใช้วิธีการร่างรัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราวและเสนอให้พระมหากษัตริย์ลงนามประกาศใช้ โดยมีหัวหน้าคณะรัฐประหารเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ (Countersign the Royal Command) มีการออกบทบัญญัติในรัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราวรับรองสถานะของประกาศและคำสั่งของคณะรัฐประหารให้ชอบด้วยกฎหมาย ทั้งนี้ อาจมีการรับรองความสมบูรณ์สถานะทางกฎหมายของคำสั่งหรือประกาศ และรวมทั้งการกระทำที่เกี่ยวเนื่องของคณะรัฐประหารให้ชอบด้วยกฎหมายและชอบด้วยรัฐธรรมนูญในรัฐธรรมนูญฉบับถาวรอีกด้วย
 
== รายชื่อรัฐประหารในประเทศไทย<ref>http://www.manager.co.th/Columnist/ViewNews.aspx?NewsID=9570000058853</ref> ==