ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โมกษะ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 6:
* Jorge Ferrer, Transpersonal knowledge, in Transpersonal Knowing: Exploring the Horizon of Consciousness (editors: Hart et al.), {{ISBN|978-0791446157}}, State University of New York Press, Chapter 10</ref>
 
ตามคติของ[[ฮินดู]] โมกษะคือแนวคิดแกนกลาง<ref>John Tomer (2002), Human well-being: a new approach based on overall and ordinary functionings, Review of Social Economy, 60(1), pp 23-45; Quote - "The ultimate aim of Hindus is self-liberation or self-realization (moksha)."</ref> และเป้าหมายสูงสุดของมนุษย์ซึ่งต้องผ่านขั้นสามขั้นในชีวิต คือ [[ธรรมะ]] (ชีวิตที่มีคุณธรรม จริยธรรมและความเหมาะสม), [[อรฐะรถะ]] (ควาทเจริญทางวัตถุ เงินทอง ชีวิตที่มั่นคง ความหมายของชีวิต) และ [[กามตัณหา]] (ความสุขทางใจและอารมณ์ที่เบิกบาน)<ref>See:
* A. Sharma (1982), The Puruṣārthas: a study in Hindu axiology, Michigan State University, {{ISBN|9789993624318}}, pp 9-12; See review by Frank Whaling in Numen, Vol. 31, 1 (Jul., 1984), pp. 140-142;
* A. Sharma (1999), [https://www.jstor.org/stable/40018229 The Puruṣārthas: An Axiological Exploration of Hinduism], The Journal of Religious Ethics, Vol. 27, No. 2 (Summer, 1999), pp. 223-256;
* Chris Bartley (2001), Encyclopedia of Asian Philosophy, Editor: Oliver Learman, {{ISBN|0-415-17281-0}}, Routledge, Article on Purushartha, pp 443;
* The Hindu Kama Shastra Society (1925), [https://archive.org/stream/kamasutraofvatsy00vatsuoft#page/8/mode/2up The Kama Sutra of Vatsyayana], University of Toronto Archives, pp. 8</ref> ทั้งหมดทั้งสี่แนวคิดนี้ เรียกรวมกันว่า "[[บุรุษศารธะปุรุษารถะ]] (Puruṣārtha)<ref>See:
* Gavin Flood (1996), The meaning and context of the Purusarthas, in [[Julius Lipner]] (Editor) - The Fruits of Our Desiring, {{ISBN|978-1896209302}}, pp 11-21;
* Karl H. Potter (2002), Presuppositions of India's Philosophies, Motilal Banarsidass, {{ISBN|978-8120807792}}, pp. 1-29</ref>
บรรทัด 19:
 
== ศาสนาฮินดู ==
ในคัมภีร์เก่าแก่ของฮินดูบางฉบับใช้คำว่าโมกษะปะปนไปกับคำว่า[[เกวลญาณ]] (Keval jnana) หรือ [[ไกวัลย์]] (kaivalya), อปวรรค (Apavarga), นิหสรียสะ (Nihsreyasa), ปรมะปทาบรมบท (Paramapada), พรหมภาวะ (Brahmabhava), พรหมญาณ (Brahmajnana) และ [[พราหมีสถิตสถิติ]] (Brahmi sthiti) ส่วนเอกสารใหม่ ๆ บางครั้งใช้คำว่า นิรวาน (นิพพาน) ซึ่งเป็นนิยามในศาสนาพุทธด้วย<ref name=pjaini/><ref name=davidloy/> หกลัทธิหลักดั้งเดิมของฮินดูมีการโต้เถียงกันมาช้านานถึงประเด็นว่า การเข้าถึงโมกษะนั้นจะเกิดขึ้นได้ในชาติภพนี้หรือในอีกชาติภพถัดไป<ref name=asharma>A. Sharma (2000), Classical Hindu Thought: An Introduction, Oxford University Press, {{ISBN|978-0195644418}}, pp 117</ref>
 
== ศาสนาพุทธ ==
{{หลัก|นิพพาน}}
{{โครง-ส่วน}}
คำว่า "โมกษะ" นั้นไม่ค่อยพบในศาสนาพุทธ แต่มีคำหนึ่งที่เทียบเคียงกันได้คือ "[[วิมุตติ]]"<ref>Gombrich, ''The Conditioned genesis of Buddhism'', chapter four: "How Insight Worstened Concentration"</ref>
 
== ศาสนาเชน ==
บรรทัด 33:
{{รายการอ้างอิง}}
 
[[หมวดหมู่:คำศัพท์ศาสนาฮินดู]]
[[หมวดหมู่:คำศัพท์ศาสนาเชน]]
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/โมกษะ"