ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เหตุการณ์การสูญพันธุ์ยุคครีเทเชียส–พาลีโอจีน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
บรรทัด 5:
'''เหตุการณ์การสูญพันธุ์ยุคครีเทเชียส-พาลิโอจีน''' เกิดขึ้นเมื่อราว 66 ล้านปีก่อน<ref name="Renne2013" /> เป็นหนึ่งใน[[การสูญพันธุ์ครั้งใหญ่]]ในประวัติศาสตร์[[โลก]] การสูญพันธุ์ครั้งนี้เกิดหลัง[[เหตุการณ์การสูญพันธุ์ยุคไทรแอสสิก-จูแรสสิก]] ในช่วงปลาย[[ยุคครีเทเชียส]] ซึ่งกวาดล้างสิ่งมีชีวิตไปกว่า 70% หรือประมาณ 3 ใน 4 ของสายพันธุ์ทั้งหมดบนโลก<ref>{{cite web|url=http://www.stratigraphy.org/index.php/ics-chart-timescale |title=International Chronostratigraphic Chart |publisher=International Commission on Stratigraphy |year=2015 |accessdate=29 April 2015 |deadurl=yes |archiveurl=https://web.archive.org/web/20140530005940/http://www.stratigraphy.org/index.php/ics-chart-timescale |archivedate=May 30, 2014 }}</ref><ref name="Renne2013">{{cite journal |last=Renne |first=Paul R. |last2=Deino |first2=Alan L. |last3=Hilgen |first3=Frederik J. |last4=Kuiper |first4=Klaudia F. |last5=Mark |first5=Darren F. |last6=Mitchell |first6=William S. |last7=Morgan |first7=Leah E. |last8=Mundil |first8=Roland |last9=Smit |first9=Jan |title=Time Scales of Critical Events Around the Cretaceous-Paleogene Boundary |journal=Science |date=7 February 2013 |volume=339 |issue=6120 |pages=684–687 |doi=10.1126/science.1230492 |pmid=23393261 |url=http://www.cugb.edu.cn/uploadCms/file/20600/20131028144132060.pdf |bibcode=2013Sci...339..684R}}</ref><ref name="Fortey">{{cite book |last=Fortey |first=Richard |authorlink=Richard Fortey |title=[[Life: A Natural History of the First Four Billion Years of Life on Earth]] |publisher=Vintage |year=1999 |pages=238–260 |isbn=978-0-375-70261-7}}</ref>รวมถึงพวก[[ไดโนเสาร์]] [[เทอโรซอร์]] และสัตว์เลื้อยคลานใต้ทะเล{{อ้างอิง}} สาเหตุการสูญพันธุ์ในครั้งนี้นั้นได้มีการสันนิษฐานว่าน่าจะมาจาก[[อุกกาบาต]]ที่พุ่งชนโลกบริเวณ[[คาบสมุทรยูคาทาน]] [[ประเทศเม็กซิโก]]
 
== ทฤษฎีต่างต่างๆ ที่อธิบายการสูญพันธุ์ ==
* '''ทฤษฎีอุกบาตชนโลก''' เป็นทฤษฎีที่น่าเชื่อถือที่สุด โดยสาเหตุของทฤษฎีนี้ เพราะว่ามีการค้นพบ[[หลุมอุกบาต]] ขนาด 10.กม ในบริเวณแหลมยูกาตัน [[ประเทศเม็กซิโก]] และนอกจากนี้ยังมี[[แร่ธาตุอิริเดียม]] ที่พบมากในอุกกาบาต ในบริเวณแหลมยูกาตันด้วย ซึ่งแร่ธาตุอิริเดียม พวกนี้อาจมาจากอุกบาตที่พุ่งชนโลก ในบริเวณนั้น
* '''ทฤษฎี[[ภูเขาไฟ]]ระเบิด''' เป็นทฤษฎีที่น่าเชื่อถือเช่นเดียวอุกบาตพุ่งชนโลก ซึ่งภูเขาไฟทั่วโลกอาจระเบิดพร้อมกัน ทำให้[[พืช]]ที่ไดโนเสาร์กินพืชกินนั้นเป็นพิษเมื่อมันกินเข้าไป ทำให้พวกไดโนเสาร์กินพืชต่างล้มตาย และเมื่อพวกกินเนื้อไม่มีอาหารคือพวกกินพืช พวกมันก็ล่ากันเอง จนสูญพันธุ์ในที่สุด