ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นครศรีธรรมราช"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Puppykung999 (คุย | ส่วนร่วม)
Limpaphat (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่มเติมข้อมูลประวัติโรงเรียนและเกียรติภูมิ
บรรทัด 10:
| abbr = ส.ก.นศ. / S.K.NS <ref name="EMIS"/>
| code = 1080210784 <ref name="EMIS"/>
| establish_date = {{เทาเล็ก|เปิดทำการครั้งแรก}}<br>11 มิถุนายน พ.ศ. 2516 ({{อายุปีและวัน|1973|6|311}})<br />{{เทาเล็ก|สถาปนาลานสกาประชาสรรค์}}<br>8 สิงหาคม พ.ศ. 2516 ({{อายุปีและวัน|1973|8|8}}<br />{{เทาเล็ก|สถาปนาสวนกุหลาบวิทยาลัย}}<br>3 มีนาคม พ.ศ. 2554 ({{อายุปีและวัน|2011|3|3}})<ref>[http://data.bopp-obec.info/emis/schooldata-view.php?School_ID=1080210784&Area_CODE=101712 วันสถาปนาโรงเรียน]. จากเว็บไซต์ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารการศึกษา สพม.12</ref>
| founder = [[กระทรวงศึกษาธิการ]] <ref name="EMIS"/>
| type = [[โรงเรียนรัฐบาล]] <ref name="EMIS"/>
บรรทัด 20:
| teaching_staff = 55 คน<ref>จำนวนครูบุคลากร ปีการศึกษา 2562. [http://data.bopp-obec.info/emis/schooldata-view_techer.php?School_ID=1080210784&Area_CODE=101712 สถิติจำนวนครูบุคลากรทั้งหมด]. ข้อมูลล่าสุด พ.ศ. 2562</ref> {{เทาเล็ก|2562}}
| students = 962 คน<ref>จำนวนนักเรียน ปีการศึกษา 2562. [http://data.bopp-obec.info/emis/schooldata-view_student_select.php?School_ID=1080210784&Edu_year=2562&Area_CODE=101712 สถิติจำนวนนักเรียนทั้งหมด]. ข้อมูลล่าสุด พ.ศ. 2562</ref> {{เทาเล็ก|2562}}
| song = <ul><li>[https://www.youtube.com/watch?v=PjBYOyPEHQM เพลงประจำโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย]</li><li> [https://www.youtube.com/watch?v=Z_XGSGovS5Q&t=16sIoV48mLUGsg มาร์ชชมพูฟ้า]</li><li>[https://www.youtube.com/watch?v=3g0oJHNq1Yc เพลงจากเหลืองแดงสู่ชมพูฟ้า]</li></ul>
| colours = {{color box|#FB7E9C}}{{color box|#38B8F5}} [[ชมพู]]-[[สีฟ้า|ฟ้า]] {{เทาเล็ก|สวนกุหลาบฯ}}<br />
{{color box|#FFD13F}}{{color box|#C3002F}} [[สีเหลือง|เหลือง]] - [[สีแดง|แดง]] {{เทาเล็ก|ลานสกาฯ}} <br /> <ref name="EMIS"/>
บรรทัด 29:
}}
 
'''โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นครศรีธรรมราช''' ({{lang-en|Suankularb Wittayalai Nakhon Si Thammarat School}}) (อักษรย่อ: ส.ก.นศ., S.K.NS.)<ref name="EMIS">กลุ่มสารสนเทศ สนผ. สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, "ข้อมูลพื้นฐานโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นคร">[http://data.bopp-obec.info/emis/schooldata-view.php?School_ID=1080210784&Area_CODE=101712 เว็บไซต์ สพฐ.]., 2554</ref> เดิมชื่อ '''''โรงเรียนลานสกาประชาสรรค์'''''({{lang-en|LansakaPrachasan School}}) ก่อตั้งเมื่อปีพุทธศักราช 2516 ต่อมาได้รับการยกฐานะโดยอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ นาย[[ชินวรณ์ บุณยเกียรติ]] ที่มีดำริจะให้มีโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยภาคใต้ และมองเห็นความพร้อมของโรงเรียนลานสกาประชาสรรค์ในด้านต่างๆ จึงได้ออกประกาศลงวันที่ 3 มีนาคม 2554 ยกฐานะจากโรงเรียนลานสกาประชาสรรค์ เป็นโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นครศรีธรรมราช หรือเรียกโดยย่อว่า “สวนนคร” จัดการศึกษาระดับ[[มัธยมศึกษา]] รูปแบบสหศึกษา กลุ่มโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ลำดับที่สิบเอ็ด ให้การศึกษาในระดับ มัธยมศึกษาตอนต้น และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย สังกัด[[สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน|สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 12]] [[สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน]][[กระทรวงศึกษาธิการ]] รหัสสถานศึกษา 1080210784 มีเนื้อที่ 42 ไร่ 3 งาน 69 ตารางวา ตั้งอยู่ที่ เลขที่ 109 หมู่ที่ 11 ตำบลกำโลน [[อำเภอลานสกา]] [[จังหวัดนครศรีธรรมราช]] <ref name="EMIS"/>
 
โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นครศรีธรรมราช เป็นหนึ่งในสถาบันสวนกุหลาบวิทยาลัย ทั้ง 11 สวน โดยบริหารจัดการภายใต้ธรรมนูญการศึกษาแห่งสถาบันสวนกุหลาบ ทั้งยังมีกรีฑาสวนกุหลาบสัมพันธ์ และงานชุมนุมลูกเสือ - เนตรนารี สวนกุหลาบสัมพันธ์ ซึ่งจัดขึ้นร่วมกับโรงเรียนในเครือสวนกุหลาบวิทยาลัย เป็นประจำทุกปี โดยแต่ละโรงเรียนจะผลัดกันเป็นเจ้าภาพ<ref>สถาบันสวนกุหลาบวิทยาลัย [https://onedrive.live.com/?authkey=%21AIZbSRkyDIFjHTY&id=9E1F84D4DBA039A1%21569847&cid=9E1F84D4DBA039A1 เอกสารข้อมูลทั่วไป]. ข้อมูลล่าสุด พ.ศ. 2562</ref>
บรรทัด 35:
== ประวัติ ==
[[ไฟล์:อาคาร1 เก่า สวนกุหลาบฯนครฯ.jpg|thumb|left|อาคารอำนวยการ 1 ในอดีต|296x296px|alt=]]
[[โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นครศรีธรรมราช]] ถือกำเนิดจาก “'''โรงเรียนลานสกาประชาสรรค์'''” ซึ่งในระยะเริ่มแรกโรงเรียนยังไม่มีสถานที่ตั้งและอาคารเรียนถาวรจึงได้อาศัยสถานที่ชั่วคราว ณ อาคารเรียนของโรงเรียนวัดดินดอน และโรงฉันวัดดินดอน โดยได้เปิดทำการสอนครั้งแรกในระดับชั้น ม.ศ.1 เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2516 มีนักเรียนรุ่นแรก จำนวน 90 คน มี นายสถิต ไชยรัตน์ ครูตรีจาก[[โรงเรียนเบญจมราชูทิศ]]ได้รับแต่งตั้งมาดำรงตำแหน่งครูใหญ่ในขณะนั้น และได้ขอครูประชาบาลมาช่วยสอนสองท่าน คือ นายภิรมณ์ รอดสรี และนายโสภณ จิราสิต ต่อมาได้รับอัตราครูประจำการมาจำนวน 4 อัตรา <ref name=“B1-SKNS”> หนังสือคู่มือนักเรียน ประจำปีการศึกษา 2554,”ประวัติโรงเรียนลานสกาประชาสรรค์” </ref>
 
เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2516 [[กรมสามัญศึกษา]] ได้ประกาศจัดตั้ง[[โรงเรียน]]อย่างเป็นทางการ โดยใช้ชื่อว่า “'''โรงเรียนลานสกาประชาสรรค์'''” ({{lang-en|LansakaPrachasan School}}) มีอักษรย่อว่า ล.ส. มีคติพจน์ประจำโรงเรียนว่า “เรียนดี ประพฤติดี สามัคคี มีวินัย” มีปรัชญาประจำโรงเรียนว่า ปญญา วธเนน เสยโย ปัญญาดีกว่าทรัพย์ และใช้ สีเหลือง แดง เป็นสีประจำโรงเรียน<ref name=“B1-SKNS”/>
 
ซึ่งในระหว่างที่อาศัยเรียนอยู่ที่วัดดินดอน ศึกษาธิการ[[อำเภอลานสกา]]ในขณะนั้น คือ นายพิณ สิงคีพงศ์ ได้ประสานงานระดมกำลังกันพัฒนา ปราบพื้นที่ สถานที่ซึ่งได้รับบริจาคให้เป็นที่สร้างโรงเรียน โดยได้รับการบริจาคที่ดินจำนวน 37 ไร่ 3 งาน 69 ตารางวา จากผู้บริจาค 5 ราย คือ นายสีนวล ตรีกำจร จำนวน 21 ไร่ 2 งาน 75 ตารางวา นายซุน ศรีใส จำนวน 13 ไร่ 2 งาน 24 ตารางวา นางหนูเจียร สถานสัตย์ จำนวน 1 ไร่ 1 งาน 4 ตารางวา นายเลียบ ผกาศรี จำนวน 3 งาน 4 ตารางวา และนายแจ้ว ศรีใส จำนวน 2 งาน 62 ตารางวา <ref name=“B1-SKNS”/>
บรรทัด 49:
เมื่อมีจำนวนนักเรียนเพิ่มมากขึ้น จึงมีความจำเป็นต้องขยายพื้นที่โรงเรียนออกไปอีก เพื่อให้เพียงพอกับการปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ นายสถิตย์ ไชยรัตน์ ผู้บริหารในขณะนั้นได้ร่วมกับคณาจารย์ หารายได้โดยการออกร้านจำหน่ายอาหาร ใน[[ประเพณีสารทเดือนสิบ|งานเดือนสิบ]] และเงินบริจาคของคณะอาจารย์ นำไปซื้อที่ดินขยายเพิ่มไปทางตะวันตก เมื่อเดือนมีนาคม พ.ศ. 2527 จำนวน 5 ไร่ เป็นเงิน 200,000 บาท ทำให้ปัจจุบันจึงมีที่ดินจำนวน 42 ไร่ 3 งาน 69 ตารางวา <ref name=“B1-SKNS”/>
 
โรงเรียนได้รับการวางรากฐานที่ดีมากจากนายสถิตย์ ไชยรัตน์ ผู้บริหารคนแรกของโรงเรียน ที่ได้วางรากฐานทั้งการวางผังแม่บท มีภูมิทัศน์ที่โดดเด่น สวยงาม ร่มรื่น รวมทั้งวัฒนธรรมองค์กร และการบริหารจัดการ ผู้บริหารสมัยต่อต่อๆมา ก็ได้พัฒนาสานต่อ เสริมสร้าง เติมเต็ม และพัฒนา มีจัดสร้างวัตถุถาวรสิ่งอำนวยความสะดวกต่างๆ ในพื้นที่เพิ่มขึ้นทุกปี และทุกสมัยของผู้อำนวยการ โรงเรียนลานสกาประชาสรรค์ จึงได้รับการยกย่องให้เป็นโรงเรียนเรียนดีเด่นในด้านบรรยากาศสิ่งแวดล้อม อาคารสถานที่ และด้านการบริหารจัดการ ปีการศึกษา 2537 โรงเรียนลานสกาประชาสรรค์ได้รับรางวัลพระราชทาน และนางสาวสุนันทา เนาวกะ เป็นนักเรียนรับรางวัลพระราชทาน ประเภทโรงเรียนมัธยมขนาดกลาง โรงเรียนได้รับการคัดเลือกเข้าโครงการ 1 อำเภอ 1 โรงเรียนในฝัน เมื่อเดื่อนเดือน กรกฎาคม 2546 และได้ผ่านการรับรองจาก[[กระทรวงศึกษาธิการ]] เป็นโรงเรียนต้นแบบ โครงการ 1 อำเภอ 1 โรงเรียนในฝัน เมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2549 ปีการศึกษา 2552 โรงเรียนลานสกาประชาสรรค์ได้รับรางวัลพระราชทาน และนายณัฐพงศ์ สมพันธุ์ เป็นนักเรียนรับรางวัลพระราชทาน ประเภทโรงเรียนมัธยมขนาดกลาง นอกจากนี้โรงเรียนยังได้รางวัลจัดกิจกรรมชมรม TO BE NUMBER ONE ในสถานศึกษาจนได้รับรางวัลชนะเลิศระดับประเทศ และได้รับการประเมินให้เป็นโรงเรียนรักษามาตรฐานต้นแบบระดับเพชร จัดกิจกรรมรณรงค์และรักษาสิ่งแวดล้อมทั้งในและนอกโรงเรียน ได้รับคัดเลือกเข้าร่วมโครงการและได้รับโล่รางวัลอื่นๆอีกมากมาย<refจากกรมส่งเสริมสุขภาพสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม จัดกิจกรรมโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ได้รับโล่งเกียรติยศเป็นโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพดีเด่น และได้รับเกียรติบัตรพัฒนาเข้าสู่โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ระดับเพชร จัดกิจกรรมรณรงค์ต่อต้านยาเสพติด และกิจกรรมตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง ในส่วนของนักเรียน นายปฏิพันธ์ เจริญผล ได้รับประกาศเชิดชูเกียรติเป็น name=B1-SKNS”/>ต้นแบบคนดีศรีแผ่นดิน” จากกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ นายวัชรพงศ์ เชี่ยววิทย์ ได้รับรางวัลเชิดชูเกียรติยกย่องว่า “มีความประพฤษดีงาม” เนื่องในวันวิสาขบูชา ประจำปี 2553 โดยพุทธสมาคมแห่งประเทศไทย นางสาวณัฐกฤตา ทองพิจิตร ได้รับการคัดเลือกไปร่วมงาน Bristish Council Connecting Classrooms Expo ณ ประเทศไต้หวัน
 
นักเรียน ครู ผู้ปกครอง ชุมชน องค์กรที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนชาวลานสกาทุกคนมีความภูมิใจในโรงเรียนและนักเรียน ทุกคนมีความมุ่งมั่น และร่วมมือกันพัฒนาโรงเรียนลานสกาประชาสรรค์มาโดยตลอด<ref name=“B1-SKNS”/>
[[ไฟล์:เปิดป้าย.jpg|right|thumb|287x287px|ป้ายด้านหน้าโรงเรียนก่อสร้างเมื่อ 3 มีนาคม 2554]]
จนกระทั่ง[[รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ]] [[ชินวรณ์ บุณยเกียรติ|นายชินวรณ์ บุณยเกียรติ]] ในขณะนั้น มีดำริจะพัฒนาและสร้างโอกาสทางการศึกษา ใน[[จังหวัดนครศรีธรรมราช]] ให้มีประสิทธิผลยิ่งขึ้น โดยมองจากทำเลที่ตั้ง คุณภาพงาน ความสำเร็จในอดีตและปัจจุบัน รวมทั้งระยะทาง เป็นข้อมูลให้มีการพิจารณา<ref name=“B2-SKNS”> หนังสือคู่มือนักเรียน ประจำปีการศึกษา 2554,”ความเป็นมาสวนนคร” </ref> โดยคำนึงถึงจุดกระจายความเจริญ และพัฒนาการศึกษาในจังหวัดนครศรีธรรมราช ในรูปแบบพัฒนาโรงเรียนคุณภาพให้กระจายอยู่ในต่างอำเภอ เป็น จตุรทิศ คือ
เส้น 58 ⟶ 59:
:: ทิศตะวันตก โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นครศรีธรรมราช [[อำเภอลานสกา]] จังหวัดนครศรีธรรมราช
 
โดยตามที่ ฯพณฯ [[พลเอกเปรม ติณสูลานนท์|พลเอกเปรม ติณสูลานนท์]] ประธานองคมนตรี และรัฐบุรุษ โดยประวัติท่านมีเครือญาตที่อำเภอนี้ ใกล้วัดปะธรรมาราม เมื่อกล่าวถึงบารมีและเจตนาที่ดีต่อประเทศชาติ ถือเป็นผู้ทรงไว้ซึ่งความยั่งยืนของความเป็นไทยที่สุดขณะนั้น เมือเมื่อประกอบกับท่านเป็นศิษย์เก่า[[โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย]] จึงเป็นเหตุผลอีกประการหนึ่งต่อการเปลี่ยนแปลงในครั้งนี้
 
การพัฒนาคุณภาพทางการศึกษา การสั่งสมคุณงามความดี เกียรติยศ และคุณค่าทางการศึกษา ของโรงเรียนลานสกาประชาสรรค์ เป็นสิ่งที่ปรากฏ และเมื่อได้ร่วมพัฒนาอยู่ในเครือข่ายกับโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ก็ยิ่งจะนำไปซึ่งความพร้อม โอกาส และความสำเร็จอันจะเป็นผลดีต่อ ชาวลานสกาประชาสรรค์ [[อำเภอลานสกา]] [[จังหวัดนครศรีธรรมราช]] สังคมการศึกษาทั่วไปเป็นส่วนรวม
 
วันที่ 3 มีนาคม พ.ศ. 2554 [[รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ]] [[ชินวรณ์ บุณยเกียรติ|นายชินวรณ์ บุณยเกียรติ]] ในขณะนั้น ได้ประกาศยกฐานะ“'''โรงเรียนลานสกาประชาสรรค์'''”เป็น[[โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นครศรีธรรมราช]] เพื่อให้เป็นโรงเรียนร่วมพัฒนากับ[[โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย]] [[กรุงเทพมหานคร]] <ref>สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, "หนังสือประกาศเปลี่ยนชื่อโรงเรียน">[http://sea12.go.th/sea12/index.php/projectsea12/184-lansaka การเปลี่ยนชื่อโรงเรียนลานสกาประชาสรรค์], 2554</ref> ในวันเดียวกันนี้โรงเรียนได้วางวางศิลาฤกษ์ป้ายนามโรงเรียนใหม่บริเวณด้านหน้าโรงเรียน โดยป้ายโรงเรียนได้รับแรงบันดาลใจมาจากเทือกเขาหลวงนครศรีธรรมราช นอกจากนี้ยังได้ปรับปรุงอาคารเรียนต่างๆ และปรับปรุงภูมิทัศน์โดยรอบ ต่อมาก็ได้รับงบประมาณปรับปรุงในด้านต่างๆ
 
วันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554 โรงเรียนได้มีพิธีวางศิลาฤกษ์ ก่อสร้างแท่นประดิษฐานพระบรมราชานุสาวรีย์ และประกอบพิธีเททอง พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ( รัชกาลที่ ๕ ) โดยมี ฯพณฯ พลเอก สุรยุทธ์ จุลานนท์ [[ประธานองคมนตรี]] เป็นประธานในพิธี ต่อมา วันที่ 7 มีนาคม พ.ศ. 2562 ฯพณฯ พลเอก สุรยุทธ์ จุลานนท์ [[ประธานองคมนตรี]]ได้เข้าเยี่ยมโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นครศรีธรรมราช เป็นการส่วนตัว โดยมีคณะผู้บริหาร คณาจารย์ ตัวแทนนักเรียนให้การต้อนรับ
 
19 กันยายน พ.ศ. 2559 เมื่อได้จัดสร้างพระบรมราชานุสาวรีย์พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๕ แล้วเสร็จ โรงเรียนจึงได้อัญเชิญจาก มทบ.41 ค่ายวชิราวุธ (อัญเชิญมาจากกรุงเทพฯมาแล้วนำมาพักที่ มทบ.41 ค่ายวชิราวุธ) มายังโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นครศรีธรรมราช โดยในภาคกลางคืนมีงานสมโภชองค์พระรูป ร.๕ และสมโภชกฐิน และในเช้าของวันที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2559 โรงเรียนได้ประดิษฐานพระบรมราชานุสาวรีย์ ลงบนแท่นประดิษฐานพระบรมราชานุสาวรีย์พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5
 
วันที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2562 โรงเรียนได้ทำพิธีเปิดโรงอาหารใหม่ ขนาด 500 ที่นั่ง โดยมีนายอำเภอลานสกาเป็นประธานในพิธีเปิด นอกจากนี้โรงเรียนก็ได้รับงบประมาณปรับปรุงเรื่อยมาในด้านต่างๆ
 
== สัญลักษณ์ประจำโรงเรียน ==
เส้น 77 ⟶ 84:
:ผู้เจริญ คือผู้ที่เจริญด้วย ความประพฤติดี ดีพร้อมทั้งกาย วาจา และใจ กระทำแต่สิ่งที่ดีงาม สร้างสรรค์คำนึงถึงผลประโยชน์ ส่วนรวมมากกว่าส่วนตัว<ref name=“B-SKNS”>โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย,"ข้อมูลทั่วไป">[http://www.sk.ac.th/ เว็บไซต์ ส.ก.]</ref>
* '''อักษรย่อ ส.ก.นศ.''' สำหรับเครื่องแบบนักเรียนทุกชั้นปี อักษรย่อ ส.ก.นศ. สีกรมท่าหรือน้ำเงินเข้ม ประดับบริเวณอกข้างขวา
* '''ตราเสมาชมพู-ฟ้า''' สำหรับเครื่องแบบนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย ตราสัญลักษณ์เป็นด้ายปักรูปทรงใบเสมาสีชมพู-ฟ้าอย่างละครึ่ง ประดับเหนืออักษรย่อโรงเรียน ส.ก.นศ. บริเวณอกข้างขวา และ '''เข็มตราประจำโรงเรียน''' ประดับไว้บริเวณคอปกเสื้อด้านซ้าย
* '''หลวงพ่อสวนกุหลาบ''' เป็น[[พระพุทธรูปปางมารวิชัย]] เป็นพระพุทธรูปที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงสร้าง พระราชทานเป็นพระพุทธรูปประจำโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร เมื่อครั้งเป็นโรงเรียนพระตำหนักสวนกุหลาบ ซึ่งรัชกาลที่ 5 ทรงพระมหากรุณาธิคุณให้ตั้งชื่อเป็นครั้งที่พระตำหนักสวนกุหลาบ ในพระบรมมหาราชวัง เมื่อ พ.ศ. 2424 เข้าใจว่าเมื่อโรงเรียนย้ายออกมาตั้งภายนอก พระบรมมหาราชวัง หลวงพ่อสวนกุหลาบคงได้เป็นพระพุทธรูปประจำโรงเรียนแต่เนื่องจากโรงเรียนมีพระพทธรูปประจำโรงเรียนเดิมอยู่แล้วจึงยังไม่มีการจัดสร้างในขณะนี้
* '''สุภาพบุรุษสุภาพสตรีสวนกุหลาบวิทยาลัย นครศรีธรรมราช''' “สุภาพบุรุษสวนกุหลาบฯ” หมายถึง นักเรียนโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยที่ได้รับการปลูกฝังให้เป็นเป็นเลิศด้านคุณธรรม เป็นผู้นำที่มีคุณภาพ มีความสามารถทางวิชาการ มีวินัย ใส่ใจในระบอบประชาธิปไตย ยึดมั่นในสถาบันแห่งชาติ ไม่ละเลยในประโยชน์ส่วนรวม เอื้ออาทรต่อกันด้วยความรักความสามัคคี ประจักษ์ในพระคุณครู ร่วมเชิดชูเกียรติภูมิแห่งสวนกุหลาบ “เป็นผู้นำ รักเพื่อน นับถือพี่ เคารพครู กตัญญูพ่อแม่ ดูแลน้อง” เป็นสโลแกนช่วยให้จดจำได้ง่าย ต้องใส่ความเป็นสวนกุหลาบด้วยความภาคภูมิใจในเรื่องราวต่างๆ ของ “สวนกุหลาบฯ” เมื่อสิ่งต่างๆ สะสมอยู่ในตัวจึงจะเป็น “สุภาพบุรุษสวนกุหลาบฯ” ที่สมบูรณ์<ref name=“B-SKNS”>โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย,"ข้อมูลทั่วไป">[http://www.sk.ac.th/ เว็บไซต์ ส.ก.]</ref>
 
* '''[[กุหลาบจุฬาลงกรณ์|ดอกกุหลาบพันธุ์จุฬาลงกรณ์]]''' เป็นดอกไม้ประจำโรงเรียน กุหลาบจุฬาลงกรณ์ คือ ดอกกุหลาบพันธุ์หนึ่ง ไม่มีหนามที่ลำต้น มีขนาดดอกที่ใหญ่มาก สีชมพู และมีกลิ่นหอมจัด เกิดการการเพาะพันธุ์ของชาวยุโรปผู้หนึ่ง และชาวยุโรปผู้นั้นได้ขอพระราชทานพระบรมราชานุญาต ตั้งชื่อกุหลาบงามพันธุ์ที่เขาผสมขึ้นใหม่ว่า “King of Siam” ซึ่งเป็นดอกกุหลาบที่โปรดของพระราชชายาเจ้าดารารัศมี และทรงถวายนามกุหลาบนั้นว่า "กุหลาบจุฬาลงกรณ์"<ref name=“B-SKNS”>โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย,"ข้อมูลทั่วไป">[http://www.sk.ac.th/ เว็บไซต์ ส.ก.]</ref>
* '''[[อโศกน้ำ|ต้นอโศกน้ำ]]''' เป็นต้นไม้ประจำโรงเรียน อโศกน้ำ โสก หรือ โสกน้ำ (Ashoka tree ชื่อวิทยาศาสตร์: Saraca asoca; บางครั้งใช้ผิดเป็น Saraca indica) เป็นพืชในวงศ์ถั่ว (Fabaceae) วงศ์ย่อยราชพฤกษ์ (Caesalpinioideae) มีถิ่นกำเนิดในอินเดียและศรีลังกา เป็นไม้ยืนต้น สูงได้ถึง 20 เมตร ใบประกอบแบบขนนกปลายคู่ เรียงสลับ ยาว 10-15 เซนติเมตร ใบย่อย 1-7 คู่ เรียงสลับรูปใบหอก กว้าง 2-10 เซนติเมตร ยาว 5-30 เซนติเมตร ปลายใบแหลม โคนใบมน รูปลิ่ม แผ่นใบหนา ดอกสีส้มหรือแดง ออกเป็นช่อแบบช่อเชิงหลั่นที่ปลายกิ่ง กลีบเลี้ยงเป็นหลอดเรียว ยาวประมาณ1-2 เซนติเมตร บริเวณปลายแยกเป็น 4 แฉก รูปไข่กลับแกมรูปขอบขนาน ปลายมน ผลแห้งแตก เป็นฝักทรงแบน กว้าง 2-6 เซนติเมตร ยาว 6-30 เซนติเมตร เมื่อแก่แตกเป็น 2 ซีก เมล็ดรูปไข่ แบน มี 1-3 เมล็ด อโศกน้ำนิยมปลูกเป็นไม้ประดับ ยอดอ่อนและดอกสามารถรับประทานได้ โดยดอกมีรสเปรี้ยวอมฝาด ช่วยขับเสมหะ เปลือกต้นมีฤทธิ์ต้านเชื้อแบคทีเรีย เช่น Escherichia coli, Pseudomonas aeruginosa และ Staphylococcus aureus ซึ่งภายในโรงเรียนจะมีต้นอโศกน้ำเติบโตให้เห็นภายในโรงเรียนมีจำนวนมาก
เส้น 189 ⟶ 197:
* หลักสูตรแผนการเรียนศิลป์ - คำนวณ (ภาษาอังกฤษ - คณิตศาสตร์) จำนวน 1 ห้อง
* หลักสูตรแผนการเรียนศิลป์ - ภาษาไทย - สังคมศึกษา จำนวน 1 ห้อง
 
== เกียรติภูมิและผลลัพธ์ความสำเร็จ ==
* '''ปี พ.ศ. 2546''' - ประกาศเกียรติคุณ ชมรม TO BE NUMBER ONE ดีเด่น ระดับจังหวัดและระดับภาค
* '''ปี พ.ศ. 2547''' - รับโล่รางวัลโรงเรียนจัดกิจกรรม TO BE NUMBER ONE ในสถานศึกษาดีเด่นจากพระหัตถ์ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี
* '''ปี พ.ศ. 2548-2549'''
- รับพระราชทานรางวัลชนะเลิศการประกวดชมรม TO BE NUMBER ONE ในสถานศึกษาระดับภาคใต้ จากทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี
- รางวัลชมรม TO BE NUMBER ONE ในสถานศึกษาดีเด่นระดับเขตประจำปี 2548 ในงานมหกรรมรวมพล TO BE NUMBER ONE ครั้งที่ 3 ณ ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทคบางนา
- รางวัลโรงเรียนจัดกิจกรรมดีเด่น เพื่อส่งเสริมอาชีพในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในสถานศึกษา จากสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานและสำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด
* '''ปี พ.ศ. 2551''' - ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญาสิริวัฒนาพรรณวดี เสด็จทรงมาเปิดศูนย์เพื่อนใจวัยรุ่น TO BE NUMBER ONE FRIEND CORNER ของโรงเรียนลานสกาประชาสรรค์ เมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2551
* '''ปี พ.ศ. 2552'''
- รางวัลผลงานดีเด่นด้านการป้องกัน (กิจกรรม TO BE NUMBER ONE) ในการต่อสู้เพื่อเอาชนะยาเสพติดตามปฏิบัติการ “90 วันพ้นภัยยาเสพติด” ปี 2552
- รางวัลรั้วโรงเรียนดีเด่น จากศูนย์ปฏิบัติการต่อสู้เพื่อเอาชนะยาเสพติดจังหวัดนครศรีธรรมราช
- รับพระราชทานรางวัลชนะเลิศการประกวดชมรม TO BE NUMBER ONE ในสถานศึกษาระดับภาคใต้ จากทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี
- รับพระราชทานรางวัลชนะเลิศการประกวดชมรม TO BE NUMBER ONE ในสถานศึกษาระดับประเทศ จากทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี
* '''ปี พ.ศ. 2558-2559'''
- รับพระราชทานรางวัลชนะเลิศการประกวดชมรม TO BE NUMBER ONE ในสถานศึกษารักษามาตรฐานระดับเพชร จากทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี ปี 2558-2559
- คุณครูสุทิน กิจจะ ได้รับรางวัล MOE AWARDS ผลงานดีเด่น ประจำปีการศึกษา 2558
- นักเรียนได้รับรางวัลเหรียญทอง การแข่งขันเล่านิทานคุณธรรม ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.4-6) ระดับชาติ ปีการศึกษา 2559
- นักเรียนได้รับรางวัลเหรียญทอง การแข่งขันสร้างสรรค์ภาพด้วยการปะติด ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.1-3) ระดับชาติ ปีการศึกษา 2559
* '''ปี พ.ศ. 2560'''
- ผู้อำนวยการสมพงษ์ ปานหงษ์ ได้รับรางวัลผู้บริหารสถานศึกษาดีเด่น ประจำปี 2560
- คุณครูจิตรลดา อุ่นประเดิมได้รับรางวัลครูผู้สอนดีเด่น สาขาคณิตศาสตร์ ประจำปีการศึกษา 2560
- นักเรียนได้รับรางวัลรองชนะเลิศ อันดับ 2 การแข่งขันโต้คารมอุดมธรรม ระดับประเทศ ปีการศึกษา 2560
* '''ปี พ.ศ. 2561'''
- ถ้วยรางวัลพระราชทานสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ชนะเลิศการแข่งขันโต้วาทีทางรัฐศาสตร์
- รางวัลชนะเลิศ การประกวดอัตลักษณ์ชุมชน กลุ่มภาคใต้ ของสำนักงานศึกษาธิการภาค 6
- รางวัลสนับสนุนการดำเนินงานด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด โครงการ TO BE NUMBER ONE ระดับดีเด่น ประจำปี 2561 จาก สพม.12
- รับการประเมินโรงเรียนมาตรฐานสากล ระดับ SCQA ประจำปี 2561
- เข้าร่วมโครงการโรงเรียนคุณภาพประจำอำเภอ
- ได้รับการคัดเลือกเป็นตัวแทนจังหวัด ในการแข่งขัน TO BE NUMBER ONE IDEL 2018 ระดับภาคใต้
- ผู้บริหารสถานศึกษาได้รับรางวัลชนะเลิศ ผลการปฏิบัติที่เป็นเลิศ โรงเรียนมัธยมศึกษาขนากลาง ด้านการบริหารจัดการ ระดับเขต ประจำปี 2561
- คุณครูได้รับรางวัลผลการปฏิบัติงานที่เป็นเลิศ ระดับ สพม.12 จำนวน 6 ท่าน
- คุณครูได้รับรางวัลครูดีไม่มีอบายมุข ประจำปี 2561 จำนวน 3 ท่าน
- นอกจากนี้ยังมีเกียรติภูมิอื่นๆอีกมากมายที่ไม่ได้นำมาเผยแพร่
 
 
 
== ที่ตั้ง และสิ่งก่อสร้าง ==