ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระเจ้าคนุตมหาราช"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ชาวไทย (คุย | ส่วนร่วม)
แก้กล่องสืบตําแหน่ง
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
ชาวไทย (คุย | ส่วนร่วม)
→‎ชีวิตช่วงต้น: ใส่เนื้อหาที่แปลจากวิกิภาษาอังกฤษ
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
บรรทัด 44:
ภายใต้การปกครองของพระเจ้าคนุต การค้าของอังกฤษเจริญรุ่งเรืองขึ้น และพระองค์ได้รับความนิยมจากประชาชนชาวอังกฤษจากการส่งทหารกลับเดนมาร์ก ทว่าจักรวรรดิทะเลเหนือของพระองค์อันประกอบด้วยเดนมาร์ก อังกฤษ และนอร์เวย์ก็ล่มสลายลงไม่นานหลังจากการสวรรคตของพระองค์ พระอัฐิของพระองค์อยู่ที่[[อาสนวิหารวินเชสเตอร์]]
 
== การพระราชสมภพและสิทธิ์ในราชบัลลังก์ ==
== ชีวิตช่วงต้น ==
พระเจ้าคนุตทรงเป็นพระราชโอรสในเจ้าชาย[[พระเจ้าสเวน ฟอร์กเบียร์ด|สเวน ฟอร์กเบียร์ด]] และเป็นพระราชนัดดาใน[[พระเจ้าฮารัลด์ บลูทูท]] ราชวงศ์ของพระองค์เป็นผู้รวมแผ่นดินเดนมาร์กให้เป็นปึกแผ่น<ref>Trow, ''Cnut'', pp. 30–31.</ref> ไม่มีข้อมูลใดบ่งบอกสถานที่หรือวันที่พระองค์เสด็จพระราชสมภพ [[พระเจ้าฮาร์ทาคนุตที่ 1 แห่งเดนมาร์ก]]<nowiki/> เทียดของพระองค์ทรงเป็นต้นราชวงศ์ ส่วน[[พระเจ้ากอร์มดิโอลด์]] พระปัยกา (ปู่ทวด) ของพระองค์เป็นกษัตริย์พระองค์แรกที่มีหลักฐานยืนยันทางประวัติศาสตร์ พระเจ้าฮารัลด์ บลูทูท พระอัยกาของพระองค์ทรงเป็นกษัตริย์ชาวสแกนดิเวียพระองค์แรกที่เข้ารีตเป็นคริสตชน
{{ต้องการอ้างอิง}} <!-- เนื้อหาไม่ตรงกับวิกิภาษาอังกฤษ -->
พระเจ้าคนุตมหาราช เสด็จพระราชสมภพประมาณ ค.ศ.985 – 995 เป็นพระราชโอรสใน[[พระเจ้าสเวน ฟอร์กเบียร์ด]] พระอัยกาของพระองค์คือ[[พระเจ้าฮารัลด์ บลูทูท]] ส่วนพระปัยกาคือ[[พระเจ้ากอร์มดิโอลด์]] พระราชมารดาของพระองค์นั้นไม่เป็นแน่ชัด
พระนางอาจจะเป็นเจ้าหญิงจากโปแลนด์ มีความเป็นไปได้ที่พระนางอาจจะเป็นพระราชธิดาใน[[ดยุกมิเอสโกที่ 1 แห่งโปแลนด์]]กับ[[โดบราฟกาแห่งโบฮีเมีย]] และพระขนิฐาของ[[พระเจ้าโบเลสวัฟที่ 1 ผู้กล้าหาญ]]
 
ในพงศวดารของ[[เทตมาร์แห่งมาเซิลเบิร์ก]] (Thietmar of Merseburg) และ ''[[อิโครนัม เอ็มมา เรจีนา|บทสรรเสริญราชินีเอ็มมา]]'' (Encomium Emmae Reginae) กล่าวว่าพระราชมารดาของพระเจ้าคนุตเป็นพระราชธิดาใน[[ดยุกมิเอสโกที่ 1 แห่งโปแลนด์]]
ในปี ค.ศ. 1000 [[พระเจ้าแอเธลเรดที่ 2 แห่งอังกฤษ|พระเจ้าเอเธลเร็ดผู้ไม่พร้อม]]กษัตริย์ของ[[ชาวแองโกล-แซกซัน]]ปล้นสะดมเกาะแมนและบางส่วนของ[[เดนลอว์]] พยายามทำลายถิ่นที่อยู่ของชาว[[สแกนดิเนเวีย]] เนื่องด้วยทรงกลัวว่า[[ชาวไวกิง]]จะกลับมามีอำนาจในอังกฤษอีกครั้ง ในปีค.ศ.1002 พระองค์อภิเษกสมรสกับ[[เอ็มมาแห่งนอร์มังดี สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษ|เอ็มม่า]] น้องสาวของดยุกริชาร์ดแห่งนอร์ม็องดี การอภิเษกสมรสครั้งนี้อาจเป็นการอภิเษกสมรสทางการเมือง แต่ความกลัวชาวสแกนดิเนเวียทำให้เอเธลเร็ดทำผิดพลาดครั้งใหญ่ ในปีที่พระองค์อภิเษกสมรสกับเอ็มม่า สายสัมพันธ์กับราชวงศ์ที่ปกครอง[[นอร์มัน]]อาจทำให้พระองค์รู้สึกมั่นคง ทรงมีพระราชบัญชาให้ฆ่าล้างเผ่าพันธ์[[ชนเดนส์|ชาวเดนท์]]ทุกคนในอังกฤษ พระขนิษฐาและพระเทวันของสเวนเคราส้อม แพลลิก อยู่ในกลุ่มคนที่ถูกสังหาร [[พระเจ้าสเวน ฟอร์กเบียร์ด|สเวน]]จึงเสด็จมาอังกฤษเพื่อแก้แค้นให้กับการสิ้นพระชนม์ของทั้งสองพระองค์ สเวนรุกรานอังกฤษตอนใต้และตะวันออกตลอดปีค.ศ.1003 และ 1004 แต่ทรงนำกองกำลังของพระองค์กลับไปเดนมาร์กในปีค.ศ.1005 เมื่อขาดการสนับสนุนเนื่องจากภาวะข้าวยากหมากแพงครั้งใหญ่ในอังกฤษ
แหล่งข้อมูล[[วรรกรรรมภาษานอร์สเก่า|ภาษานอร์ส]]จาก[[สมัยกลางตอนกลาง]] เช่น ''[[เฮล์มสกริงยา]]'' (Heimskringla) ของ[[สนอร์ริ สตรูสัน]] (Snorri Sturluson) ก็บันทึกไว้ว่าพระราชมารดาของพระองค์เป็นเจ้าหญิงโปแลนด์เช่นกัน โดยออกพระนามว่า[[กันฮิลด์แห่งเว็นเด็น|กันฮิลด์]] และเป็นพระราชธิดาใน ''[[บรูสลาฟ]]'' (Burislav) กษัตริย์แห่ง''[[ชาวเวนส์|วินแลนด์]]'' <ref>Snorri, ''Heimskringla'', ''The History of Olav Trygvason'', ch. 34, p. 141</ref>
 
เนื่องจากใน[[ซากา]]ของชาวนอร์สล้วนบันทึกตรงกันว่า ''กษัตริย์แห่งวินแลนด์'' มีพระนามว่า ''บรูสลาฟ'' อาจจะเป็นไปได้ว่าผู้บันทึกสับสนระหว่างพระนามของพระราชบิดากับพระเชษฐาของพระนาง[[พระเจ้าโบเลสวัฟที่ 1 ผู้กล้าหาญ|โบเลสวัฟ]] อดัมแห่งเบรเมิน (Adam of Bremen) เขียนไว้ใน ''[[เกสตา ฮัมมาเจนเนซิส เอคาเลซิส พอนทิฟิคุม]]'' (Gesta Hammaburgensis ecclesiae pontificum) ว่าพระราชมารดาของพระเจ้าคนุตคืออดีตราชินีแห่ง[[ประเทศสวีเดน|สวีเดน]] ผู้เป็นพระมเหสีใน[[พระเจ้าอีริค ผู้ชนะ]]และพระราชมารดาใน[[พระเจ้าโอลอฟ สก็อทโคนุง]]<ref>Adam of Bremen, ''History of the Archbishops of Hamburg-Bremen'', Book II, ch. 37; see also Book II, ch. 33, Scholion 25</ref>
หลายปีต่อมาสเวนกลับมารุกรานอีกครั้งและได้เงินก้อนใหญ่เป็นเดเนเกลด์ (สินบนที่จ่ายเพื่อให้ไวกิงเลิกรุกราน) ในปีค.ศ. 1013 พระองค์กลับมาพร้อมกับพระโอรส คานุต ด้วยจุดประสงค์ที่ต่างไปจากเดิม ครั้งนี้พระองค์ตั้งพระทัยจะพิชิตอังกฤษ เมื่อกองทัพของพระองค์ขึ้นฝั่งในอังกฤษตอนใต้ พระองค์ได้ตั้งเดนลอว์ขึ้นมา และพิชิตส่วนที่เหลือของประเทศ พงศาวดารแองโกลแซ็กซันบันทึกไว้ว่า "ทั่วทั้งประเทศเคารพประองค์เป็นกษัตริย์อย่างสมบูรณ์" เอเธลเร็ดหนีไปนอร์ม็องดี
''เฮล์มสกริงยา'' และซากาฉบับอื่นก็มีการบันทึกว่าพระเจ้าสเวนอภิเษกกับราชินีม่ายแห่งสวีเดนจริง แต่พระนางไม่ได้เป็นพระราชมารดาของพระเจ้าคนุต และทรงมีพระนามว่า ''[[ซิกริดผู้ทรนง]]'' ซึ่งพระเจ้าสเวนทรงอภิเษกสมรสด้วยหลังจาก ''กันฮิลด์'' เจ้าหญิงชาวสลาฟที่ได้ให้กําเนิดพระเจ้าคนุตสิ้นพระชนม์ลง<ref>Snorri, ''Heimskringla'', ''The History of Olav Trygvason'', ch. 91, p. 184</ref>
 
ทฤษฎีมากมายเกี่ยวกับชาติกำเนิดและจํานวนพระมเหสีของพระเจ้าสเวนได้รับการเสนอ (ดูเพิ่มที่บทความ[[ซิกริดผู้ทรนง]]และ[[กันฮิลด์แห่งเว็นเด็น|กันฮิลด์]]) แต่พงศวดารของอดัมเป็นเพียงแหล่งเดียวที่บันทึกว่าพระเจ้าคนุตและพระเจ้าโอลอฟ สก็อทโคนุงทรงมีพระราชมารดาพระองค์เดียวกัน สันนิษฐานกันว่านี้อาจจะเป็นข้อผิดพลาดของอดัมเอง และพระเจ้าสเวนทรงมีพระมเหสีสองพระองค์ คือเจ้าหญิงชาวสลาฟและราชินีม่ายแห่งสวีเดน พระเจ้าคนุตทรงมีพระราชอนุชาหนึ่งพระองค์ คือ [[พระเจ้าฮารัลด์ที่ 2 แห่งเดนมาร์ก]]
สเวนสวรรคตในปีต่อมาและเอเธลเร็ดทอดพระเนตรเห็นโอกาสที่จะกอบกู้อาณาจักรกลับมาอีกครั้ง พระองค์เสด็จกลับมาจากนอร์ม็องดีและจัดการเนรเทศกองทัพของสเวนที่ขณะนั้นอยู่ภายใต้การนำของคานุต
[[File:Silver penny of Cnut the Great (YORYM 2000 646) obverse.jpg|thumb|เหรียญเพนนีเงินของพระเจ้าคนุตมหาราช]]
หลักฐานเล็กน้อยเกี่ยวกับพระเจ้าคนุตขณะทรงพระเยาว์สามารถพบได้ใน ''[[แฟลร์ทิยาร์ลบก]]'' (Flateyjarbók) แหล่งข้อมูลจากคริสต์ศตวรรษที่ 13 ซึ่งกล่าวถึงช่วงเวลาที่พระองค์ได้รับการอบรมวิชาการทหารจาก[[ธอร์เคลตัวสูง|ธอร์เคล]]<ref>Trow, ''Cnut'', p. 44.</ref> น้องชายของ[[ซิกวาดี สตุรด์-ฮารัลด์สัน|ซิเกิร์ด]] [[เอิร์ล|ยาร์ล]]แห่งดินแดนปรัมปรา[[จอมสบอร์ก]] (Jomsborg) และผู้นําของชาว[[จอมสไวกิง|จอมส]] ที่ฐานที่มั่น[[ชาวไวกิง|ไวกิง]]บนเกาะ[[วอลลิน]] (Wolin) นอกชายฝั่ง[[พอเมอเรเนีย]] ไม่มีข้อมูลเกี่ยวกับวันพระราชสมภพของพระองค์ แม้แต่งานเขียนร่วมสมัยอย่างเช่น ''[[เทตมาร์แห่งมาเซิลเบิร์ก|พงศาวดารเทตมาร์]]'' และ ''[[อิโครนัม เอ็มมา เรจีนา|บทสรรเสริญราชินีเอ็มมา]]'' ก็ไม่ได้กล่าวถึง ในกลอน''[[คนุตดราพา (โอตรา สตาฟตี)|คนุตดราพา]]'' (Knútsdrápa) โดย[[สเคล]] (skald) [[โอตรา สตาฟตี]] (Óttarr svarti) ซึ่งมีวรรคหนึ่งกล่าวว่าพระเจ้าคนุต "มีพรรษาไม่มากนัก" (of no great age) เมื่อพระองค์ออกศึกครั้งแรก<ref>Douglas, ''English Historical Documents'', pp. 335–36</ref> กลอนยังกล่าวถึงการศึกที่อาจจะเป็นการเปรียบเปรยถึงการรุกรานอังกฤษของพระเจ้าสเวน ฟอร์กเบียร์ดและการจู่โจมเมือง[[นอริช]] ในปี ค.ศ. 1003/04 หลังเหตุการณ์[[การสังหารหมู่วันเซนต์ไบรซ์]] (St. Brice's Day massacre) ซึ่งชาวเดนส์ถูกสังหารโดยชาวอังกฤษใน ค.ศ. 1002. หากพระเจ้าคนุตได้ทรงติดตามพระราชบิดาไปในศึกครั้งนี้ด้วย พระองค์จึงอาจจะทรงเสด็จพระราชสมภพใน ค.ศ. 990 หรืออย่างเร็วที่สุดคือ ค.ศ. 980 หากไม่ได้ทรงติดตามพระราชบิดาไปด้วย และวรรคของกลอนดังกล่าวหมายถึงการศึกครั้งอื่น เช่น การพิชิตอังกฤษของพระเจ้าสเวน ฟอร์กเบียร์ดใน ค.ศ. 1013/14 พระองค์อาจจะทรงเสด็จพระราชสมภพประมาณ ค.ศ. 1000<ref>Lawson, ''Cnut'', p. 160.</ref> มีประโยคหนึ่งจากผู้สรรเสริญ (Encomiast) (ซึ่งเป็นผู้ประพันธ์ ''บทสรรเสริญราชินีเอ็มมา'') กล่าวว่าชาวไวกิงทั้งหมด "ถึงวัยผู้ใหญ๋" (of mature age) ภายใต้ "กษัตริย์" คนุต
 
== กษัตริย์แห่งอังกฤษ ==