ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ยุทธการที่ตูร์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ ‘(?mi)\{\{Link GA\|.+?\}\}\n?’ ด้วย ‘’: เลิกใช้ เปลี่ยนไปใช้วิกิสนเทศ
Waniosa Amedestir (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
บรรทัด 18:
}}
 
'''ยุทธการตูร์''' หรือ '''ยุทธการปัวติเยร์''' ({{lang-en|Battle of Tours หรือ Battle of Poitiers}}, {{lang-ar|معركة بلاط الشهداء}} (ma‘arakat Balâṭ ash-Shuhadâ’) ''ยุทธการแห่งราชสำนักผู้พลีชีพ''<ref>Henry Coppée writes, "The same name (see ''ante'') was given to the battle of Toulouse and is applied to many other fields on which the Moslemah were defeated: they were always martyrs for the faith" (Coppée, 1881/2002, p. 13.)</ref>); ([[10 ตุลาคม]] [[ค.ศ. 732]]<ref>Oman, 1960, p. 167.</ref>) เป็นยุทธการที่เกิดขึ้นในบริเวณเมือง[[ปัวติเยร์]] และ [[ตูร์]] ใกล้กับหมู่บ้าน Moussais-la-Bataille ราวยี่สิบกิโลเมตรทางตอนเหนือของปัวติเยร์ สมรภูมิของการสู้รบอยู่ติดกับเขตแดนระหว่าง[[จักรวรรดิแฟรงค์]]และ[[อากีแตน]] ยุทธการตูร์เป็นยุทธการระหว่างกองทัพ[[แฟรงค์]]และ[[ชาวเบอร์กันดี|เบอร์กันดี]]<ref>Bachrach, 2001, p. 276.</ref><ref>Fouracre, 2002, p. 87 citing the ''Vita Eucherii'', ed. W. Levison, ''Monumenta Germaniæ Historica, Scriptores Rerum Merovingicarum'' VII, pp. 46–53, ch. 8, pp. 49–50; ''Gesta Episcoporum Autissiodorensium'', extracts ed. G. Waitz, ''Monumenta Germaniae Historica, Scriptores'' XIII, pp. 394–400, ch. 27, p. 394.</ref> ภายใต้การนำของ[[ออสตราเซีย]][[ชาร์ลส์ มาร์เตล]]ฝ่ายหนึ่ง และกองทัพของ[[จักรวรรดิกาหลิปอุมัยยะห์]]ที่นำโดย[[อับดุล เราะหฺมาน อัล ฆอฟิกี]]ข้าหลวงใหญ่แห่ง[[อัล-อันดะลุส]]อีกฝ่ายหนึ่ง ฝ่ายแฟรงค์เป็นฝ่ายได้รับชัยชนะ อับดุล เราะหฺมาน อัล ฆอฟิกีเสียชีวิตในสนามรบ ชาร์ลส์ มาร์เตลขยายอำนาจลงมาทางใต้ นักบันทึกพงศาวดารของคริสต์ศตวรรษที่ 9 ผู้ตีความหมายของชัยชนะว่าเป็นอำนาจจากเบื้องบนที่เข้าข้างชาร์ลส์ และตั้งสมญานามให้ชาร์ลส์ว่า “Martellus” หรือ “ค้อน” ที่อาจจะมาจากสมญาว่า “The Hammerer” ของ[[จูดาส แม็คคาเบียส]] (Judas Maccabeus) ใน [[แม็คคาบี|การปฏิวัติแม็คคาบี]] (Maccabean revolt) เมื่อชาวยิวปฏิวัติต่อต้านการปกครองของ[[จักรวรรดิเซลูซิด]] (Seleucid empire) <ref name="Riche, 1993, p. 44">Riche, 1993, p. 44.</ref><ref>Hanson, 2001, p. 143.</ref> รายละเอียดของการสงครามที่รวมทั้งจุดที่ต่อสู้แต่ตัวเลขของผู้เข้าร่วมไม่เป็นที่ทราบแน่นอนจากหลักฐานที่ยังเหลืออยู่ แต่สิ่งที่น่าสนใจคือฝ่ายแฟรงค์ได้รับชัยชนะโดยไม่มีกองทหารม้า<ref name="Schoenfeld, 2001, p. 366">Schoenfeld, 2001, p. 366.</ref>
 
นักประวัติศาสตร์คริสเตียนก่อนคริสต์ศตวรรษที่ 20 สรรเสริญชาร์ลส์ว่าเป็นวีรบุรุษของคริสเตียนและกล่าวว่ายุทธการครั้งนี้เป็นจุดที่เปลี่ยนแปลงความขัดแย้งต่อต้านอิสลาม การต่อสู้ที่เป็นการพิทักษ์คริสต์ศาสนาให้เป็นศาสนาของยุโรป นักประวัติศาสตร์ทางการทหารสมัยใหม่[[วิคเตอร์ เดวิส แฮนสัน]]กล่าวว่า “นักประวัติศาสตร์ส่วนใหญ่ของคริสต์ศตวรรษที่ 18 และ 19 เช่นกิบบอนมีความเห็นว่ายุทธการปัวติเยร์เป็นยุทธการสำคัญที่เป็นจุดที่แสดงอำนาจอันสูงสุดของมุสลิมที่คืบเข้ามาในยุโรป”<ref>Hanson, 2001, p. 166.</ref> [[เลโอโพลด์ ฟอน รังเคอ]] (Leopold von Ranke) มีความเห็นว่า “ปัวติเยร์เป็นจุดของความหันเหของสมัยที่สำคัญที่สุดในประวัติศาสตร์โลก”<ref name=Ranke>Ranke, Leopold von. "History of the Reformation," vol. 1, 5</ref>