ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tegel (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขของ 118.173.50.90 (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย JBot
ป้ายระบุ: ย้อนรวดเดียว
บรรทัด 2:
{{เพิ่มอ้างอิง}}
'''ก''' เป็น[[พยัญชนะ]]ตัวที่ 1 ในบรรดาพยัญชนะ 44 ตัวของ[[อักษรไทย]] ในลำดับก่อนหน้า [[ข]] จัดอยู่ในกลุ่ม[[อักษรกลาง]]ในระบบ[[ไตรยางศ์]] มีชื่อเรียกกำกับว่า "ก ไก่"
 
อักษร ก เป็นได้ทั้ง[[พยัญชนะต้น]] แทนเสียง {{IPA|[k]}} และ[[พยัญชนะสะกด]] แทนเสียง {{IPA|[k̚]}} เมื่อเป็นพยัญชนะต้น สามารถควบกับอักษร [[ร]] [[ล]] [[ว]] ได้ เมื่อเป็นตัวสะกด นับเป็นตัวสะกด[[แม่กก]] และนับเป็นตัวแทนของตัวสะกดแม่กกด้วย ในหนังสือโบราณ มีการใช้ "ก หัน" คือ อักษร ก สองตัว แทนไม้หันอากาศและตัว ก สะกด ดังนี้ รกก (รัก), หกก (หัก)
 
อักษร ก นี้ เทียบได้กับอักษรในระบบอักษรอื่นๆ ของอินเดียและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้หลายระบบ เช่น [[อักษรเทวนาครี|ระบบอักษรเทวนาครี]] [[อักษรมอญ|ระบบอักษรมอญพม่า]] [[อักษรเขมร|ระบบอักษรขอม]] เป็นต้น โดยอักษร ก ถือเป็นพยัญชนะตัวแรกเสมอ
 
ก เพียงตัวเดียวแล้วเติม[[ไม้ไต่คู้]] โดยไม่มี[[สระ]] สามารถเป็นคำได้หนึ่งคำ คือ ก็ (อ่านว่า เก้าะ) เป็น[[คำสันธาน]]แปลว่า ''แล้ว, จึง, ย่อม''
 
== ประวัติ ==
เส้น 14 ⟶ 20:
ในภาษาถิ่นบางถิ่น เช่น ภาษาถิ่นย่อยของภาษาผู้ไท หรือภาษาไทยถิ่นใต้ ไม่ออกเสียง /ก/ เมื่อเป็นตัวสะกดในพยางค์ที่ประสมด้วยสระเสียงยาว เช่น โลก, ลูก, แยก
 
== การเขียน ==
== UHYEQURJHNAUHTNJRUN ==
การเขียนอักษร ก ในหนังสือไทย นิยมเริ่มจากด้านล่าง ชิดเส้นบรรทัด ลากขึ้นไปข้างบน วกด้านขวาเล็กน้อย แล้ววกออกซ้าย จากนั้นโค้งขึ้นข้างบน แล้วลดลงไปด้านขวา จากนั้นลากตรงลงด้านลง ขนานกับเส้นที่ลากขึ้นตอนแรก จากนั้นลากลงไปชิดกับเส้นบรรทัด ในแนวเดียวกับจุดเริ่ม (ดูภาพประกอบ)
EJRHNWYAHTAYEEEEEEEEEEEEEEUTGBANWEYGTBAYEWFRG5AWEGBNYEARTBAEGWRVEHWBTAWHRTVBHEWGBTWEGYVNHEGTBWHBG{{Spoken Wikipedia|Th-ก.oga|25 กันยายน พ.ศ. 2560}}
 
== อ้างอิง ==
EJRHNWYAHTAYEEEEEEEEEEEEEEUTGBANWEYGTBAYEWFRG5AWEGBNYEARTBAEGWRVEHWBTAWHRTVBHEWGBTWEGYVNHEGTBWHBG{{Spoken Wikipedia|Th-ก.oga|25 กันยายน พ.ศ. 2560}}
{{รายการอ้างอิง}}
* จินดามณี ฉบับหมอบลัดเล. กรุงเทพฯ : โฆษิต,
*
 
[[หมวดหมู่:อักษรไทย]]
[[หมวดหมู่:ก]]
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/ก"