ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สวดคฤหัสถ์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Saerin (คุย | ส่วนร่วม)
→‎อ้างอิง: {{ศิลปะการแสดงไทย}}
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:การสวดคฤหัสถ์.gif|thumb|สวดคฤหัสถ์]]
'''สวดคฤหัสถ์''' หรือ '''สวดกะหัด''' คือการสวดชนิดหนึ่ง เป็นการเล่นที่นิยมเล่นใน[[งานศพ]] เป็นการเล่นเลียนแบบการสวดพระอภิธรรมของพระสงฆ์ และเล่นในตอนดึกหลังจากพระสงฆ์สวด[[พระอภิธรรม]]เสร็จแล้ว<ref>[http://www.bcc.ac.th/web2006/department/giftes_m6/giftthai/14.htm สวดคฤหัสถ์]</ref>
 
การแสดงจะมีบทสวด "พื้น" อยู่ 4 อย่าง คือ พื้นพระอภิธรรม (สวดบทพระอภิธรรม) พื้นโพชฌงค์มอญหรือหับเผย พื้นพระมาลัย (สวดเรื่อง[[พระมาลัย]]) และพื้นมหาชัย 1 แต่ที่นิยมใช้สวดกันอย่างแพร่หลาย คือพื้นพระอภิธรรม แต่เดิมเป็นการละเล่นของพระสงฆ์ซึ่งสวดมนต์แล้วออกลำนำเป็นภาษาต่างๆ มีปรากฏใน[[กฎหมายตราสามดวง]] ห้ามไม่ให้พระสงฆ์สวดออกลำนำแบบนี้ จากนั้นจึงแพร่หลายมาในหมู่ชาวบ้าน และเริ่มมีการแต่งตัวตามภาษาที่ใช้สวด<ref name="ภาษิต">ภาษิต จิตรภาษา. สวดคฤหัสถ์. ศิลปวัฒนธรรม. 17(3): มกราคม 2539. หน้า 68-71</ref>
 
== การเล่น ==