ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ZeroSixTwo (คุย | ส่วนร่วม)
KKC0092 (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 61:
 
== หลักสูตรโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ ==
โรงเรียนพัฒนาหลักสูตรขึ้นใช้เป็นการเฉพาะกับนักเรียนของโรงเรียนมีการปรับปรุงหลักสูตรทุก 3 - 4 ปี โดยมีผู้ทรงคุณวุฒิสาขาต่าง ๆ จากสถาบันอุดมศึกษาเป็นที่ปรึกษาในการพัฒนาหลักสูตร โดยมุ่งเน้นการพัฒนานักเรียน รอบด้าน ทั้งพุทธิศึกษา จริยศึกษา พลศึกษา และหัตถศึกษา รายวิชาพื้นฐานครอบคลุมหลักสูตรการศึกษาขั้น พื้นฐานของกระทรวงศึกษาธิการนอกจากนี้ยังจัดสาระการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติมให้หลากหลาย สอดคล้องกับ ศักยภาพ ความถนัดและความสนใจของนักเรียนเป็นรายบุคคลมีการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนทั้งภายในและ ภายนอกห้องเรียน เพื่อมุ่งสร้างความเป็นพหุปัญญาสร้างเสริมประสบการณ์การเรียนรู้ เปิดโลกทัศน์ที่กว้างไกลของ นักเรียน และ เพื่อให้เกิดความสมดุลทั้งความรู้ ความคิด ความดีงาม และความรับผิดชอบต่อสังคม<ref>[https://www.mwit.ac.th/content.php?content_title=CUR_TITLE&content=CUR_CONTENT หลักสูตรโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์]</ref>{{ต้องการอ้างอิง}}
 
ปัจจุบันโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ใช้หลักสูตรโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ พุทธศักราช 2562<ref>[https://www.mwit.ac.th/mwitDoc/curriculum/mwits-curriculum-62.pdf หลักสูตรโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) พ.ศ. 2562]</ref> ซึ่งเป็นการปรับปรุงหลักสูตรครั้งที่ 6 โดยปรับปรุงหลักสูตรให้มีความใกล้เคียงเนื้อหายืดหยุ่นตอบสนองความต้องการของนักเรียน [[สอวน.]]รวมทั้งส่งเสริมศักยภาพนักเรียนรายบุคคล โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ได้เพิ่มรายวิชาทักษะชีวิต เพื่อพัฒนาทักษะการใช้ชีวิตในหอพักและทำให้นักเรียนเติบโตเป็นบุคลากรที่มีความสามารถและอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างมีความสุข และเพิ่มรายวิชาสัมมนาวิทยาศาสตร์ รายวิชาธรรมชาติและการสืบเสาะอย่างวิทยาศาสตร์ (Nature of Science and Scientific Inquiry)<ref>{{cite web|url = http://www.mwit.ac.th/~usa_jeen/|title = SINOS| accessdate = 11 January 2012}}</ref>และรายวิชาโครงงานวิทยาศาสตร์ เพื่อพัฒนากระบวนการคิด และกระบวนการสืบเสาะค้นหาองค์ความรู้ หาคำตอบของข้อสงสัย ของปัญหาที่อยากรู้ โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ (Scientific Methods) เช่นเดียวกับที่นักวิทยาศาสตร์ นักวิจัย หรือนักประดิษฐ์คิดค้นใช้ในกระบวนการทำงานของตนเอง รวมถึงการพัฒนาทักษะในการทำวิจัย (โครงงาน) อย่างครบวงจร และปลูกฝังจิตวิญญาณและความรู้ความสามารถในการเป็นนักคิดค้น นักวิจัยในภายภาคหน้า โดยได้รับความร่วมมือจากบุคลากรชั้นนำทั้งในประเทศและต่างประเทศ เช่น Dr. David Workman จาก [[:en:Illinois Mathematics and Science Academy|Illinois Mathematics and Science Academy]] หลักสูตรนี้ยังส่งเสริมการพัฒนาทักษะทางภาษาต่างประเทศ คือภาษาอังกฤษ โดยมีการสอนแบบแบ่งกลุ่มนักเรียนตามคะแนนสอบและจัดการเรียนการสอนให้เหมาะสมกับระดับความสามารถ รวมถึงเปิดการสอนภาษาอื่นๆอื่น ๆ อีกอย่างน้อย 4 ภาษา คือ [[ภาษาจีน]] [[ภาษาญี่ปุ่น]] [[ภาษาฝรั่งเศส]] [[ภาษาเยอรมัน]] โดยในบางครั้งหากมีบุคลากรที่เหมาะสมจะเปิดการเรียนการสอนภาษาอื่น ๆ ด้วย เช่น ในอดีตเคยมีการเปิดสอน[[ภาษาเกาหลี]] และ[[ภาษารัสเซีย]] การสอนภาษาต่างประเทศนี้ มีจุดประสงค์เพื่อสร้างความเป็นสากลให้เกิดขึ้นในบุคลากรของชาติในอนาคตและเพื่อยกระดับความเป็นโรงเรียนวิทยาศาสตร์ให้ทัดเทียมกับโรงเรียนวิทยาศาสตร์ชั้นนำของโลก (World Class){{ต้องการอ้างอิง}}
 
== ระบบคัดเลือกนักเรียน ==