ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาวะเสียการอ่านเข้าใจ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Chainwit. (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
บรรทัด 24:
 
==สาเหตุ==
[[Fileไฟล์:Inferior parietal lobule - superior view animation.gif|thumb|300px300px|Inferior parietal lobule (superior view). Some dyslexics demonstrate less electrical activation in this area.]]
นับตั้งแต่มีการบรรยายภาวะนี้เอาไว้ครั้งแรกเมื่อ ค.ศ. 1881 มีนักวิทยาศาสตร์จำนวนมากที่พยายามหาสาเหตุพื้นฐานทางระบบชีวประสาทของภาวะเสียการอ่านเข้าใจ<ref name="Oswald Berkhan ref 1" /><ref name="ReidFawcett2008x">{{cite book|author1=Reid, Gavin|author2=Fawcett, Angela|author3=Manis, Frank|author4=Siegel, Linda|title=The SAGE Handbook of Dyslexia|url=https://books.google.com/books?id=937rqz4Ryc8C&pg=PA127|year=2008|publisher=SAGE Publications|isbn=978-1-84860-037-9|page=127|deadurl=no|archiveurl=https://web.archive.org/web/20170109200307/https://books.google.com/books?id=937rqz4Ryc8C&pg=PA127|archivedate=9 January 2017|df=dmy-all}}</ref> ตัวอย่างเช่น บางคนพยายามเชื่อมโยงภาวะที่ผู้ป่วยไม่สามารถมองเห็นตัวอักษรได้ชัดเจน (ซึ่งเป็นอาการที่พบบ่อยอย่างหนึ่งของภาวะเสียการอ่านเข้าใจ) เข้ากับความผิดปกติในการพัฒนาของเซลล์ประสาทที่ควบคุมการมองเห็นภาพ เป็นต้น<ref name="Stein2014" >{{cite journal |first1=John |last1=Stein |year=2014 |title=Dyslexia: the Role of Vision and Visual Attention |journal=Current Developmental Disorders Reports |volume=1 |issue=4 |pages=267–80 |pmid=25346883 |pmc=4203994 |doi=10.1007/s40474-014-0030-6}}</ref>
===ประสาทกายวิภาคศาสตร์===