ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่สอง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Anonimeco (คุย | ส่วนร่วม)
โยงไปหน้าที่มี
Anonimeco (คุย | ส่วนร่วม)
ปรับปรุงบางส่วน
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Benito Mussolini and Adolf Hitler.jpg|thumb|right|200px|[[เบนิโต มุสโสลินี]]กับ[[อดอล์ฟ ฮิตเลอร์]] สองผู้นำเผด็จการในทวีปยุโรปก่อนและระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง]]
 
'''สาเหตุเบื้องต้นของ[[สงครามโลกครั้งที่สอง]]''' คือ ความตึงเครียดเกี่ยวกับชาตินิยม ประเด็นปัญหาที่ไม่ได้รับการแก้ไข และความไม่พอใจอันเป็นผลสืบเนื่องมาจาก[[สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง]] และ[[สมัยระหว่างสงคราม]]ในทวีปยุโรป รวมทั้งผลกระทบของ[[ภาวะเศรษฐกิจตกต่ำครั้งใหญ่]]ในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1930 เหตุการณ์ต่าง ๆ ได้ลงเอยด้วยการปะทุของสงคราม ซึ่งมักเป็นที่เข้าใจว่าเป็น[[การบุกครองโปแลนด์]] โดย[[นาซีเยอรมนี]] ความก้าวร้าวทางทหารนี้เป็นผลมาจากการตัดสินใจของผู้นำของเยอรมนีและญี่ปุ่น สงครามโลกครั้งที่สองเริ่มต้นขึ้นจากการปฏิบัติอันก้าวร้าวและบรรจบกับการประกาศสงคราม หรือ การต่อต้านด้วยกำลัง
 
== อุดมการณ์ ลัทธิ และปรัชญา ==
บรรทัด 89:
สนธิสัญญาแวร์ซายถูกวิพากษ์วิจารณ์อย่างหนาหูว่าเป็นมลทินของสงคราม เพราะเป็นการโยนความผิดให้แก่[[จักรวรรดิเยอรมนี]]และ[[จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี]]เดิม และลงโทษอย่างหนักเพื่อเรียกร้องให้พวกเขารับผิดชอบต่อความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสงคราม โดยผู้ชนะสงครามได้หวังว่าสนธิสัญญานี้จะได้กลายเป็นสิ่งที่สามารถธำรงสันติภาพให้เกิดขึ้นในโลกได้ ผลที่ตามมมา คือ เยอรมนีจำเป็นต้องจ่ายค่าปฏิกรรมสงครามเป็นจำนวนมหาศาล การสูญเสียดินแดนอาณานิคมทั้งหมด การจัดระเบียบทางเชื้อชาติขนานใหญ่ หลังจากนั้น เศรษฐกิจเยอรมันก็ร่วงดิ่งลงไปอย่างหนัก อัตราเงินเฟ้อสูงลิบ [[สาธารณรัฐไวมาร์]]จำเป็นต้องพิมพ์ธนบัตรกว่าล้านล้านฉบับออกมาและต้องกู้ยืมเงินจำนวนมหาศาลจากสหรัฐอเมริกา เพื่อใช้หนี้แก่สหราชอาณาจักรและฝรั่งเศสซึ่งเป็นผู้ชนะในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง
 
สนธิสัญญาแวร์วายนั้นก่อให้เกิดความขมขื่นแก่ประชาชนผู้แพ้สงคราม แม้ว่าฝ่ายพันธมิจตรพันธมิตรผู้ชนะสงครามจะให้สัญญาแก่ประชาชนชาวเยอรมันว่าแนวทาง [[หลักการสิบสี่ข้อ]] ของประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา [[วูดโรว์ วิลสัน]] จะเป็นแนวทางที่จะนำไปสู่สันติภาพ ชาวเยอรมันส่วนมากเข้าใจว่ารัฐบาลเยอรมันได้ตกลงในสนธิสัญญาสงบศึกตามความเข้าใจนี้ ขณะที่ส่วนอื่นได้เข้าใจว่า [[การปฏิวัติเยอรมัน ค.ศ. 1918–1919|การปฏิวัติเยอรมนี]] ได้ถูกก่อขึ้นโดย "กลุ่มอาชญากรเดือนพฤศจิกายน" ผู้ซึ่งต่อมาในมีตำแหน่งในสภาของสาธารณรัฐไวมาร์ วิลสันนั้นไม่สามารถเชิญชวนให้ฝ่ายพันธมิตรยอมปฏิบัติตามข้อเสนอของเขา และไม่สามารถชักจูงให้[[รัฐสภาคองเกรสแห่งสหรัฐอเมริกา]]ให้ลงมติยอมเข้าร่วมกับ[[สันนิบาตชาติ]]
 
ฝ่ายพันธมิตรมิได้ครอบครองส่วนใด ๆ ของเยอรมนี แม้ว่าจะมีการรบในแนวรบด้านตะวันตกมาเป็นเวลาหลายปี มีเพียงแต่อาณานิคมโพ้นทะเลของเยอรมนีเท่านั้นที่ถูกยึดครอง และอิตาลีก็ได้แคว้นทีรอลตอนใต้ไปหลังจากการเจรจาเริ่มต้น สงครามในแนวรบด้านตะวันออกทำให้[[จักรวรรดิรัสเซีย]]ล่มสลาย และทำให้เยอรมนีได้รับดินแดนมหาศาลทางยุโรปกลางและยุโรปตะวันออก
บรรทัด 99:
[[ไฟล์:Imperialism1900.png|thumb|300px|แผนที่โลกปี 1900 ซึ่งชาติตะวันตกแสวงหาอาณานิคมของโลก]]
 
นอกจากทรัพยากรถ่านหินและเหล็กในปริมาณน้อยนิด ญี่ปุ่นนับได้ว่าเป็นประเทศที่ขาดแหล่งทรัพยากรธรรมชาติ ญี่ปุ่นในสมัยนั้น เป็นเพียงประเทศเดียวในทวีปเอเชียซึ่งมีความเจิรญเจริญทางด้านอุตสาหกรรมจนทัดเทียมประเทศตะวันตก เกรงว่าตนจะขาดแคลนวัตถุดิบเพื่อเตรียมการทำสงครามกับสหภาพโซเวียต ญี่ปุ่นนั้นได้วางเป้าหมายโดยการเสาะแสวงหาทรัพยากรธรรมชาติเพิ่มเติม ญี่ปุ่นบุกครอง[[แมนจูเรีย]] ในปี [[ค.ศ. 1931]] เพื่อนำวัตถุดิบไปป้อนให้แก่โรงงานอุตสาหกรรมของตนในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศ พวกชาตินิยมจีนทางตอนใต้ของแมนจูเรียได้พยายามขับไล่กองทัพญี่ปุ่นออกไป สงครามครั้งนี้กินเวลาไปสามเดือนและสามารถผลักดันกองทัพจีนลงมไปทางใต้ แต่ว่าเมื่อวัตถุดิบที่ได้รับในแคว้นแมนจูเรียก็ยังไม่เพียงพอต่อความต้องการของประเทศ กองทัพจักรวรรดิญี่ปุ่นจึงวางแผนที่จะเสาะหาวัตถุดิบเพิ่มเติม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง คือ ทรัพยากรน้ำมัน
 
เพื่อที่จะเยียวยาความเสียหายดังกล่าวและเพื่อเป็นการรักษาแหล่งทรัพยากรน้ำมันและทรัพยากรธรรมชาติอื่น ๆ อาจทำให้ญี่ปุ่นต้องเผชิญหน้ากับการล่าอาณานิคมของชาติตะวันตก ซึ่งยังครอบครองแหล่งน้ำมันอยู่เป็นจำนวนมาก อย่างเช่น [[หมู่เกาะอินเดียตะวันออกของดัตช์]] โดยการเคลื่อนไหวเพื่อต่อต้านการล่าอาณานิคมของตะวันตกอาจจะนำไปสู่ความขัดแย้งกับสหรัฐอเมริกาได้ เมื่อเดือนสิงหาคม 1941 สหรัฐอเมริกาซึ่งนำเข้าน้ำมันจากญี่ปุ่นเป็นจำนวนกว่า 80% ได้ประกาศคว่ำบาตรทางการค้า ทำให้เศรษฐกิจและกำลังทหารของญี่ปุ่นกลายเป็นอัมพาต ญี่ปุ่นมีทางเลือก คือ ยอมเอาใจสหรัฐอเมริกา เจรจาประนีประนอม หาแหล่งทรัพยากรอื่นหรือใช้กำลังทหารเข้ายึดแหล่งทรัพยากรตามแผนการเดิม ญี่ปุ่นได้ตกลงใจเลือกทางเลือกสุดท้าย และหวังว่ากองกำลังของตนจะสามารถทำลายสหรัฐอเมริกาได้นานพอที่จะบรรลุวัตถุประสงค์เดิม ดังนั้นญี่ปุ่นจึง[[การโจมตีเพิร์ลฮาร์เบอร์|โจมตีฐานทัพเรือสหรัฐอเมริกาที่เพิร์ล ฮาเบอร์]] ในวันที่ [[7 ธันวาคม]] [[ค.ศ. 1941]] ซึ่งได้กลายมาเป็นความผิดพลาดใหญ่หลวงของญี่ปุ่น
บรรทัด 107:
{{บทความหลัก|สันนิบาตชาติ}}
 
สันนิบาตชาติ คือ องค์การระหว่างประเทศซึ่งจัดตั้งขึ้นหลังจากสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง เพื่อป้องกันสงครามที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคต แนวทางปฏิบัติของสันนิบาตชาติ คือ [[การจำกัดอาวุธ]] โดยใช้หลักการ [[ความมั่นคงส่วนรวม]] การระงับข้อพิพาทระหว่างประเทศโดย[[การเจรจา]]ทาง[[การทูต]]และพัฒนา[[คุณภาพชีวิต]]ของประชากรโลก ปรัชญาทางการทูตของสันนิบาตชาติได้แสดงให้เห็นถึงความเปลี่ยนแปลงของรากเหง้าทางความคิดกว่า 100 ปีก่อนหน้านี้ ปรัชญาเก่า ได้เริ่มขึ้นจาก [[การประชุมใหญ่แห่งเวียนนา]] ในปี [[ค.ศ. 1815]] ซึ่งทวีปยุโรปได้มีการเปลี่ยนแปลงอาณาเขตในหลายประเทศ และทำให้เกิดการถ่วงดุลอำนาจและข้อตกลงลับระหว่างพรรคพวก ภายใต้ปรัชญาใหม่ สันนิบาตชาติ คือ รัฐบาลที่ปกครองรัฐบาล เพื่อยุติความขัดแย้งระหว่างประเทศในการเปิดกระทู้ถาม แรงกระตุ้นที่ทำให้เกิดสันนิบาตชาติ คือ ประธานาธิบดีวู้ดโรว์วูดโรว์ วิลสัน ถึงแม้ว่าสหรัฐอเมริกาจะมิได้เข้าร่วมก็ตาม เหตุการณ์ซึ่งตามมาภายหลังได้ให้บทเรียนแก่สมาชิกของสันนิบาตชาติว่าการพัฒนาทางอุตสาหกรรมและอำนาจทางทหารจะมีอำนาจเหนือกว่าความต้องการของสันนิบาติชาติ
 
สันนิบาตชาติมีกำลังทหารไม่เพียงพอ ต้องขึ้นอยู่กับความตั้งใจของสมาชิกสันนิบาตชาติ การคว่ำบาตรทางเศรษฐกิจซึ่งทางสันนิบาตสั่งให้ทำ หรือเพิ่มเติมกำลังทหารให้แก่สันนิบาต ซึ่งส่วนใหญ่สมาชิกไม่เต็มใจที่จะทำ
บรรทัด 141:
{{บทความหลัก|สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง|สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง}}
 
ด้วยความจริงที่ว่าสงครามโลกครั้งที่หนึ่งยุติลงด้วยการยอมแพ้ของเยอรมนีอย่างกะทันหัน หลายคนจึงอาจนับว่าสงครามโลกครั้งที่สองนั้นสืบเนื่องมาจากสงครามโลกครั้งแรก กองทัพพันธมิตรไม่ได้เหยียบแผ่นดินเยอรมนีเลยแม้แต่นายเดียว และประชาชนเยอรมันยังคาดหวังว่าสนธิสัญญาสันติภาพที่ตามมาจะยึดตามหลักเกณฑ์ของ [[หลักหลักการสิบสี่ข้อ]] ซึ่งหมายความว่า ชาวเยอรมันนั้นโต้เถียงว่า "คนทรยศ" มิได้ยอมจำนนต่อฝ่ายพันธมิตร เยอรมนียังสามารถที่จะเอาชนะสงครามได้ แต่ว่ากลับไม่เป็นเช่นนั้น เงื่อนไขของสันติภาพนั้นคิอการลงทัณฑ์เยอรมนีให้รับผิดชอบต่อความเสียหายในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง มลทินซึ่งได้ทำให้เยอรมนีกลายเป็นประเทศที่ขมขื่น ประชาชนเยอรมันจึงพยายามที่จะฟื้นฟูประเทศและหาทางล้างแค้น
 
[[ไฟล์:Der Aufbau der Republik Deutschösterreich.png|thumb|300px|การเปลี่ยนแปลงอาณาเขตของ[[ออสเตรีย]]หลังปี 1918]]