ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อาร์เคีย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Kradangna2001 (คุย | ส่วนร่วม)
ลบรูปและแก้ข้อมูล
Boom1221 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 8:
| image_caption = ''[[ฮาโลแบคทีเรีย]]'' NRC-1 ทุกเซลล์มีความยาว 5 ไมโครเมตร
| domain = '''อาร์เคีย'''
| domain_authority = [[คาร์ล โวเซ|โวเซ]], [[ออตโต คานดเลอร์กันด์เลอร์|คานกันดเลอร์]] และ [[มาร์คมาร์ก วีลลิส|วีลลิส]], [[พ.ศ. 2533]]
| subdivision_ranks = ไฟลัม / ชั้น
| subdivision = [[ครีนาเคออตารนาร์คีโอทา]]<br />
[[ยูรีอาคีโอทา]]<br />
[[ยูร์ยาร์เคออตา]]<br />
[[โคราเคออตาราร์คีโอทา]]<br />
[[นาโนอาร์เคออตาอาร์คuโอทา]]<br />
}}
'''อาร์เคีย''' ({{lang-en|Archaea}}) เป็นหนึ่งในสามโดเมนของสิ่งมีชีวิตบนโลกที่ประกอบไปด้วย[[โพรแคริโอต]] ตอนแรกอาร์เคียได้ถูกจัดรวมเป็นหนึ่งของโดเมน[[แบคทีเรีย]] ต่อมาถูกแยกเป็นโดเมนของมันเองเนื่องจากมีคุณสมบัติที่แตกต่างออกจากแบคทีเรียกับ[[ยูแคริโอต]] สายพันธุ์อาร์เคียประกอบด้วยหลาย[[ไฟลัม]]ซึ่งยากจะศึกษาและจัดเป็นหมวดหมู่ เพราะว่าสายพันธุ์เหล่านี้ไม่สามารถเพาะเชื้อในห้องแล็ปได้ง่าย ที่ผ่านมาการทดสอบและวิเคราะห์ตัวอย่าง[[กรดนิวคลีอิก]]ในสิ่งแวดล้อมเป็นวิธีหลักของการที่จะตรวจพบหรือศึกษาอาร์เคีย
 
ถึงแม้ขนาดและรูปทรงของอาร์เคียจะคล้ายคุณลักษณะของแบคทีเรียพวกเค้ายังคงมียีนกับเส้นทางการเผาผลาญพลังงานที่คล้ายกับยูแคริโอต ยกตัวอย่างเช่น[[เอนไซม์]]ที่กระตุ้นกระบวนการ[[การถอดรหัส (พันธุศาสตร์)|ถอด]]และ[[การแปลรหัส (พันธุศาสตร์)|แปลรหัสพันธุกรรม]] นอกจากนี้อาร์เคียยังมีเอกลักษณ์[[ชีวเคมี]]พิเศษอย่างเช่น การใช้ไขมัน[[อีเทอร์]]ใน[[เยื่อหุ้มเซลล์]]และความสามารถที่จะประยุกต์ใช้แหล่งพลังงานมากกว่ายูคาริโอต อาร์เคียบางประเภทใช้[[สารประกอบอินทรีย์]]เช่นน้ำตาล[[กลูโคส]] [[สารประกอบอนินทรีย์|สารประกอบอนินทรีย์เนทรีย์]]ช่นเช่น[[แอมโมเนีย]] สารประกอบและไอออนเช่นก๊าซไฮโดรเจนและไอออนโลหะ หรือพลังงานแสงอาทิตย์ สายพันธุ์ต่างๆ ของอาร์เคียจะ[[การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ|สืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ]]ผ่านกระบวนการแตกหน่อ การแบ่งตัวออกเป็นสอง และการขาดออกเป็นท่อน พวกอาร์เคียไม่สามารถสร้างสปอร์เหมื่อนแบคทีเรีย
 
ประเภทอาร์เคียแรกๆเคียแรก ๆ ที่ถูกค้นพบเป็นจำพวก[[เอกซ์ตรีมเมเฟียล|อิกซ์ตรีโมไฟล์]]ที่สามารถดำรงชีวิตในสิ่งแวดล้อมที่สิ่งมีชีวิตชนิดอื่นๆอื่น ๆ อยู่อาศัยลำบากเนื่องจากสภาพแวดล้อมที่ แห้งจัด ร้อนจัด เย็นจัด เข็มจัด หรือแรงกดดันอากาศสูงจัดในเบื้องต้น การพัฒนาด้านเทคโนโลยีนำมาสู่การค้นพบอาร์เคียสายพันธุ์ใหม่ในสิ่งแวดล้อมประเภทอื่นๆ นักวิทยาศาสตร์จึงทราบว่าสายพันธุ์ต่างๆ ของอาร์เคียสามารถอยู่อาศัยในเกือบทุกแห่งบนโลกโดยเฉพาะใน[[แพลงก์ตอน]]ที่อาศัยอยู่ในมหาสมุทร นอกจากนี้แล้วอาร์เคียยังคงอยู่อาศัยในระบบทางเดินอาหารและบนผิวหนังของสิ่งมีชีวิตนานาชนิดรวมถึงมนุษย์โดยเป็นหนึ่งของ[[ไมโครไบโอมของมนุษย์|ไมโครไบโอต้า]] อาร์เคียมีหลายบทบาทในธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมซึ่งรวมถึง [[การตรึงคาร์บอน]] การสนับสนุน[[วัฏจักรไนโตรเจน]] การหมุนเวียนของสารประกอบอินทรีย์ และการควบคุมของความสัมพันธ์ที่เอื้อประโยชน์ของชุมชนแบคทีเรียประเภทต่างๆ
ขณะนี้นักวิทยาศาสตร์ยังไม่ได้ค้นพบสายพันธุ์อาร์เคียที่มีพฤติกรรมเหมื่อนเชื้อโรคหรือปรสิต ส่วนใหญ่แล้วจะเป็นสายพันธุ์อาร์เคียเช่นเหล่า[[เมทาโนเจน]] หรืออาร์เคียที่สามารถผลิตก๊าซมีเทนนั่นเอง ซึ่งสายพันธุ์จะมีภาวะพึ่งพาหรืออิงอาศัยสิ่งมีชีวิตประเภทอื่นๆอื่น ๆ
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
{{wikispecies|Archaea}}