ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ฝอยทอง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 33:
[[ไฟล์:Fios de ovos.jpg|thumb|''ฝอยทอง'' ที่ซื้อจากร้านขายขนมใน[[ประเทศบราซิล]]]]
=== ประเทศไทย ===
ฝอยทองแพร่เข้ามาในประเทศไทย พร้อมกับ[[ทองหยิบ]]และ[[ทองหยอด]] ในสมัย[[กรุงศรีอยุธยา]] ในรัชกาล[[สมเด็จพระนารายณ์มหาราช]] โดยมารีอา กูโยกียูมาร์ เดดึ ปิญญาปีญา ([[ท้าวทองกีบม้า]], พ.ศ. 2202-2265) ลูกครึ่งโปรตุเกส-ญี่ปุ่น ภรรยาของ[[เจ้าพระยาวิชาเยนทร์]] (คอนสแตนติน ฟอลคอน) ท้าวทองกีบม้ามีหน้าที่เป็นหัวหน้าห้องเครื่องต้น เป็นผู้ทำอาหารเลี้ยงต้อนรับคณะราชทูตจาก[[ฝรั่งเศส]]ที่มาเยือนกรุงศรีอยุธยาในสมัยนั้น
 
ทั้งนี้ฝอยทอง ปรากฏอยู่ใน ''กาพย์เห่ชมเครื่องคาว-หวาน'' บทพระราชนิพนธ์ใน[[พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย]] ที่พระราชนิพนธ์ชมเชยฝีพระหัตถ์ในการแต่งเครื่องเสวยของ[[สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินี]] ความว่า<ref>{{cite web |url=http://www.lib.ru.ac.th/journal/kanom.html|title=ขนมไทย|author=|date=|work= |publisher=สำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยรามคำแหง|accessdate=15 กรกฎาคม 2557}}</ref>
บรรทัด 42:
 
=== ประเทศญี่ปุ่น ===
เครังโซเม็งเข้ามาในประเทศญี่ปุ่นใน[[ยุคอาซูจิ–โมโมยามะ]] ({{ญี่ปุ่น|安土桃山時代}}) ช่วงปี ค.ศ. 1568 – ค.ศ. 1600 (พ.ศ. 2111-2143) ที่[[จังหวัดนางาซากิ]] โดยพ่อค้าชาวโปรตุเกส{{ต้องการอ้างอิงตรงนี้}} หลังจากนั้นจึงแพร่หลายไปยัง[[จังหวัดฟุกุโอกะฟูกูโอกะ]] และเริ่มทำเพื่อจำหน่ายตามร้านขนมต่าง ๆ ใน[[ยุคเมจิ]] ({{ญี่ปุ่น|明治時代 ''Meiji-jidai เมจิจิได''}}) เมื่อ 342 ปีก่อน ร้าน '''Matsuyariemon''' มัตสึยาริเอมงที่[[จังหวัดฟุกุโอกะ]] ฟูกูโอกะได้ทำเครังโซเม็งขึ้นซึ่งเป็นขนมหวานที่เป็นเอกลักษณ์ประจำของร้าน โดยปัจจุบันนั้นได้ดำเนินงานโดยรุ่นที่ 13{{ต้องการอ้างอิงตรงนี้}}
 
== ดูเพิ่ม ==
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/ฝอยทอง"