ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ยอซีป บรอซ ตีโต"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Narutzy (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Matable (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{กล่องข้อมูล ผู้นำประเทศ
|name = ยอซีป บรอซ ตีโต
เส้น 64 ⟶ 63:
|}}
 
'''ยอซีป บรอซ''' ({{lang-sh-Cyrl|Јосип Броз}}, {{IPA-sh|jǒsip brôːz|pron}}; 7 May 1892 – 4 May 1980), มักเป็นที่รู้จักกันว่า '''ตีโต''' ({{IPAc-en|ˈ|t|iː|t|oʊ}};<ref>[http://www.dictionary.com/browse/tito "Tito"]. ''[[Random House Webster's Unabridged Dictionary]]''.</ref> {{lang-sh-Cyrl|Тито|links=no}}, {{IPA-sh|tîto|pron}}), เป็น[[นักปฏิวัติ]][[ลัทธิคอมมิวนิสต์]]และรัฐบุรุษชาวยูโกสลาฟ ทำหน้าที่ในบทบาทต่างๆ ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1943 จนถึงแก่อสัญกรรมในปี ค.ศ. 1980<ref name="britannica">{{cite encyclopedia|url=http://www.britannica.com/EBchecked/topic/597295/Josip-Broz-Tito|title=Josip Broz Tito|encyclopedia=Encyclopædia Britannica Online|accessdate=27 April 2010}}</ref> ในช่วง[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] เขาเป็นผู้นำ[[พลพรรคยูโกสลาเวีย|พลพรรค]] มักจะถือว่าเป็นขบวนการต่อต้านที่มีประสิทธิภาพมากใน[[ยุโรปที่ถูกเยอรมนียึดครอง|ทวีปยูโรปที่ถูกยึดครอง]]<ref name="JJR2013_OxfordPress">{{cite book|author=Rhodri Jeffreys-Jones|title=In Spies We Trust: The Story of Western Intelligence|url=https://books.google.com/books?id=3gK7e8LpXvcC&pg=PA87|date=13 June 2013|publisher=OUP Oxford|isbn=978-0-19-958097-2|page=87}}</ref> เขายังทำหน้าที่เป็นประธานาธิบดีแห่ง[[สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย]] ตั้งแต่วันที่ 14 มกราคม ปี ค.ศ. 1953 ถึง วันที่ 4 พฤษภาคม ค.ศ. 1980 ในขณะที่การดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีของเขาจะถูกวิพากษ์วิจารณ์ว่าเป็นเผด็จการ<ref name="Andjelic">{{cite book|last=Andjelic|first=Neven|title=Bosnia-Herzegovina: The End of a Legacy|publisher=Frank Cass|year=2003|page=36|isbn=978-0-7146-5485-0}}</ref>{{sfn|McGoldrick|2000|p=17}} และความกังวลเกี่ยวกับการปราบปรามฝ่ายตรงข้ามทางการเมืองได้ถูกหยิบยกขึ้น ตีโตได้รับความเห็นเป็นส่วนใหญ่ว่าเป็นเผด็จการผู้มีความเมตตา(benevolent dictator)<ref>{{cite book|last1=Shapiro|first1=Susan|last2=Shapiro|first2=Ronald|title=The Curtain Rises: Oral Histories of the Fall of Communism in Eastern Europe|publisher=McFarland|year=2004|isbn=978-0-7864-1672-1|url=https://books.google.com/books?id=oCqWFQ1WKlkC&pg=PA180|ref=Shapiro_2004}}"...All Yugoslavs had educational opportunities, jobs, food, and housing regardless of nationality. Tito, seen by most as a benevolent dictator, brought peaceful co-existence to the Balkan region, a region historically synonymous with factionalism."</ref>
'''ยอซีป บรอซ''' ({{lang-sh|Јосип Броз/Josip Broz}}) หรือ '''ตีโต''' ({{lang-sh|Тито/Tito}}, [[พ.ศ. 2435]]-[[พ.ศ. 2523|2523]]) เป็นรัฐบุรุษและประธานาธิบดีของ[[ประเทศยูโกสลาเวีย]] ([[พ.ศ. 2496]]-[[พ.ศ. 2523|2523]]) เกิดที่เมือง[[คุมรอเวตส์]] [[ราชอาณาจักรโครเอเชีย-สลาโวเนีย|อาณาจักรโครเอเชีย-สลาโวเนีย]]ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของ[[จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี]] (ปัจจุบันเมืองนี้อยู่ใน[[ประเทศโครเอเชีย]]) คำว่า "ตีโต" แปลว่า "นั่น-นี่" เป็นสมญานามที่ได้มาจากการชอบสั่งนั่นสั่งนี่เป็นประจำของเขาเมื่อมีอำนาจ
 
เขาได้เป็นบุคคลสาธารณรัฐที่ได้รับความนิยมทั้งในยูโกสลาเวียและต่างประเทศ<ref>Melissa Katherine Bokovoy, Jill A. Irvine, Carol S. Lilly, ''State-society Relations in Yugoslavia, 1945–1992''; Palgrave Macmillan, 1997 p. 36 {{ISBN|0-312-12690-5}}
ระหว่าง[[สงครามโลกครั้งที่ 1]] ตีโตเข้าประจำการเป็นทหารใน[[กองทัพบกออสเตรีย-ฮังการี]] ถูกจับเป็นเชลยโดย[[กองทัพจักรวรรดิรัสเซีย|กองทัพรัสเซีย]]และได้กลายเป็น[[คอมมิวนิสต์]]ในเวลาต่อมา ตีโตถูกจองจำเนื่องจากการสมรู้ร่วมคิดต่อต้านระบอบการปกครองในยูโกสลาเวีย (พ.ศ. 2471-2472) ต่อมาในปี พ.ศ. 2480 เขาได้รับการแต่งตั้งให้เป็นเลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์ และเมื่อปี พ.ศ. 2484 ตีโตได้จัดตั้งกองกำลังต่อต้าน[[ฝ่ายอักษะ]]ของ[[นาซีเยอรมัน]]ที่ยึดครองประเทศ และสามารถเอาชนะกองกำลังข้าศึกที่มีอยู่ถึง 30 หน่วยได้ หลัง[[สงครามโลกครั้งที่ 2]] เขาได้รับการแต่งตั้งให้เป็นนายกรัฐมนตรีคอมมิวนิสต์คนแรกเมื่อ พ.ศ. 2488 และต่อมาได้เสริมสร้างอำนาจของตนให้แข็งแกร่งยิ่งขึ้นโดยการเปลี่ยนเป็นประธานาธิบดีในปี พ.ศ. 2496
 
"''...Of course, Tito was a popular figure, both in Yugoslavia and outside it.''"</ref> มุมมองที่เป็นสัญลักษณ์รวมกัน,<ref>Martha L. Cottam, Beth Dietz-Uhler, Elena Mastors, Thomas Preston, ''Introduction to political psychology'', Psychology Press, 2009 p. 243 {{ISBN|1-84872-881-6}}
ตีโตได้พาประเทศออกจากอำนาจของ[[สหภาพโซเวียต]]ภายใต้การปกครองของ[[สตาลิน]]และ[[โคมินฟอร์ม]]ในปี 2491 พัฒนาประเทศตั้งตนเป็นประเทศคอมมิวนิสต์อิสระ ([[ลัทธิตีโต]]) และ เป็นผู้ก่อตั้งสมาคม[[ประเทศผู้ไม่ฝักไฝ่ฝ่ายใด]]
 
"''...Tito himself became a unifying symbol. He was charismatic and very popular among the citizens of Yugoslavia.''"</ref> นโยบายภายในประเทศของเขาดำรงไว้ซึ่งการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุขของชาติต่างๆ ในสหพันธ์ยูโกสลาเวีย เขาได้รับความสนใจจากนานาชาติมากขึ้นในฐานะผู้นำ[[ขบวนการไม่ฝักฝ่ายใด]] เคียงข้างกับ [[ชวาหะร์ลาล เนห์รู]]แห่งอินเดีย [[ญะมาล อับดุนนาศิร]]แห่งอียิปต์ และ[[กวาเม อึนกรูมา]]แห่งกานา<ref name="nonaligned-chief">Peter Willetts, ''The Non-aligned Movement: The Origins of a Third World Alliance'' (1978) p. xiv</ref>
 
บรอซเกิดจากบิดาที่เป็น[[ชาวโครแอต]]และมารดาที่เป็น[[ชาวสโลวีน]]ในหมู่บ้าน Kumrovec, [[ออสเตรีย-ฮังการี]](ปัจจุบันใน[[โครเอเชีย]]) ถูกเกณฑ์เป็นทหารในกองทัพ เขามีความโดดเด่นในตัวเขาเอง กลายเป็นจ่าสิบเอกที่มีอายุน้อยที่สุดใน[[กองทัพบกออสเตรีย-ฮังการี]]ในช่วงสมัยนั้น ภายหลังจากได้รับบาดเจ็บสาหัสและถูกจับกุมโดยทหารจักรวรรดิรัสเซียในช่วง[[สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง]] เขาถูกส่งไปยังค่ายแรงงานใน[[เทือกเขายูรัล]] เขาได้มีส่วนร่วมในบางเหตุการณ์ของ[[การปฏิวัติรัสเซีย]]ในปี ค.ศ. 1917 และ[[สงครามกลางเมืองรัสเซีย|สงครามกลางเมือง]]ที่ตามมา
 
เมื่อเขาเดินทางกลับสู่คาบสมุทรบอลข่านในปี ค.ศ. 1918 บรอซได้เข้าสู่[[ราชอาณาจักรยูโกสลาเวีย]]ที่เพิ่งก่อตั้งขึ้น ที่เขาได้เข้าร่วมพรรคคอมมิวนิสต์แห่งยูโกสลาเวีย(KPJ) ต่อมาเขาได้รับเลือกเป็นเลขาธิการพรรค(ต่อมาได้เป็นประธานรัฐสภา) ของ[[สันนิบาตคอมมิวนิสต์แห่งยูโกสลาเวีย]] (ค.ศ. 1939–1980) ในช่วง[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] ภายหลังจากนาซีได้ส่งกองทัพเข้ารุกรานประเทศ เขาได้เป็นผู้นำขบวนการกองโจรชาวยูโกสลาฟ [[พลพรรคยูโกสลาเวีย|พลพรรค]] (ค.ศ. 1941–1945)<ref>{{cite book|title=The J Curve: A New Way to Understand Why Nations Rise and Fall|last=Bremmer|first=Ian|year=2007|publisher=Simon & Schuster|isbn=978-0-7432-7472-2|page=175}}</ref>
 
ภายหลังสงคราม เขาได้รับเลือกตั้งเป็นนายกรัฐมนตรี (ค.ศ. 1944–1963) และประธานาธิบดี(ต่อมาเป็นประธานาธิบดีตลอดชีพ) (ค.ศ. 1953–1980) แห่ง[[สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย]](SFRY) ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1943 จนถึงแก่อสัญกรรมในปี ค.ศ. 1980 ตีโตได้รับยศตำแหน่งเป็นจอมพลแห่งยูโกสลาเวีย ทำหน้าที่เป็นผู้บัญชาการทหารสูงสุดในกองทัพยูโกสลาเวีย [[กองทัพประชาชนยูโกสลาเวีย]] (JNA) ด้วยชื่อเสียงที่ได้รับความนิยมอย่างสูงในกลุ่มประเทศสองฝ่ายในช่วงสงครามเย็น เขาได้รับเครื่องอิสรยาภรณ์จากต่างประเทศ 98 ชิ้น รวมทั้ง[[เครื่องอิสริยาภรณ์เลฌียงดอเนอร์]] และเครื่องราชอิสริยาภรณ์แห่งบาธ
 
ตีโตเป็นหัวหน้าผู้ออกแบบ[[สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย|ประเทศยูโกสลาเวียที่สอง]] [[รัฐสังคมนิยม|สหพันธ์สังคมนิยม]]  ที่ดำเนินมาตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 1943 จนถึง เดือนเมษายน ค.ศ. 1992 แม้ว่าจะเป็นหนึ่งในผู้ก่อตั้ง[[โคมินฟอร์ม]] เขากลายเป็นสมาชิกโคมินฟอร์มคนแรกที่ท้าทายอำนาจโซเวียตในปี ค.ศ. 1948 เขาเป็นผู้นำเพียงคนเดียวที่ถอนตัวออกจากโคมินฟอร์มในช่วงสมัย[[โจเซฟ สตาลิน]] และเริ่มต้นด้วยโครงการสังคมนิยมในประเทศของเขา ซึ่งมีองค์ประกอบของตลาดสังคมนิยม  นักเศรษฐศาสตร์ที่ทำงานอยู่ในอดีตยูโกสลาเวีย รวมทั้ง Jaroslav Vaněk ที่เกิดเป็นชาวเช็ก และ Branko Horvat เกิดเป็นชาวยูโกสลาฟ ได้ส่งเสริมรูปแบบของตลาดสังคมนิยมที่ถูกขนานนามว่ารูปแบบอีลิเลียน สถานประกอบการที่สังคมเป็นเจ้าของโดยลูกจ้างของพวกเขาและโครงสร้างแรงงานที่จัดการด้วยตัวเอง พวกเขาได้เข้าแข่งขันในตลาดเปิดและ[[ตลาดเสรี|เสรี]]
 
ตีโตได้สร้าง[[ลัทธิบูชาบุคคล]]ที่ทรงอำนาจอย่างมากรอบๆ ตัวเขา ซึ่งได้รับการทำนุบำรุงโดยสันนิบาตคอมมิวนิสต์แห่งยูโกสลาเวีย หลังจากการถึงแก่อสัญกรรมของเขา
 
ตีโตพยายามควบคุมความตึงเครียดของกลุ่มชาติพันธุ์โดยมอบหมายอำนาจให้มากที่สุดเท่าที่เป็นไปได้แก่แต่ละสาธารณรัฐ รัฐธรรมนูญยูโกสลาเวีย ปี ค.ศ.1974 กำหนดให้สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวียเป็น"สหพันธ์สาธารณรัฐแห่งชาติและเชื้อชาตืที่เสมอภาค โดยอยู่ร่วมกันอย่างอิสระบนหลักการภราดรภาพและเอกภาพในการบรรลุผลประโยชน์ที่เฉพาะเจาะจงและร่วมกัน" แต่ละสาธารณรัฐยังได้รับสิทธิ์ในการตัดสินใจด้วยตนเองและทำการแยกตัวออก ถ้าหากทำผ่านช่องทางกฎหมาย ผลสุดท้าย, [[โคโซโว]]และ[[วอยวอดีนา]] [[สาธารณรัฐสังคิมนิยมเซอร์เบีย|ทั้งสองมณฑลที่มีอำนาจการเลือกตั้งของเซอร์เบีย]]ต่างได้รับเอกราชเพิ่มขึ้นอย่างมาก รวมทั้งอำนาจโดยพฤตินัยในรัฐสภาเซอร์เบีย
 
สิบปีภายหลังจากการถึงแก่อสัญกรรม [[การปฏิวัติ ค.ศ. 1989|ลัทธิคอมมิวนิสต์ล่มสลายในยุโรปตะวันออก]]และ[[สงครามยูโกสลาเวีย|ประเทศยูโกสลาเวียได้เข้าสู่สงครามกลางเมือง]]
 
== ดูเพิ่มต่อ ==
 
== ดูเพิ่ม ==
* [[ติโต (หนังสือ)|ติโต]] พระราชนิพนธ์แปลใน[[พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช]]
*[http://ejournals.swu.ac.th/index.php/JOH/article/view/7964/7150 สัญชัย สุวังบุตร. “ติโต-รัฐบุรุษแห่งยูโกสลาเวีย.” '''วารสารประวัติศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ''' 41 (ส.ค. 2559-ก.ค. 2560), น. 1-15.]