ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สถานีกลางบางซื่อ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Kurino (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 39:
 
ในปี พ.ศ. 2557 รัฐบาล [[คณะรักษาความสงบแห่งชาติ|คสช.]] และ [[กระทรวงคมนาคม (ประเทศไทย)|กระทรวงคมนาคม]] ได้ดำเนินโครงการต่อ โดยปรับแบบสถานีกลางบางซื่ออีกครั้ง คือ ชั้นใต้ดิน เป็นที่จอดรถยนต์ประมาณ 1,700 คันและสามารถเชื่อมต่อกับ[[รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล|รถไฟฟ้ามหานครสายเฉลิมรัชมงคล(MRT สายสีน้ำเงิน)]]ได้ ชั้นที่ 1 เป็นพื้นที่สำหรับห้องจำหน่ายตั๋วโดยสาร จุดรอการโดยสารและร้านค้า ชั้นที่ 2 เป็นชั้นชานชาลาสำหรับรถไฟที่ใช้รางขนาด 1.000 เมตร ประกอบด้วย[[การขนส่งระบบรางในประเทศไทย|รถไฟทางไกล]] 8 ชานชาลา และ [[รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดง]] 4 ชานชาลา และชั้นที่ 3 เป็นชั้นชานชาลาสำหรับรถไฟที่ใช้รางขนาด 1.435 เมตร ประกอบด้วย [[รถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ]] (Airport Rail Link ดอนเมือง-บางซื่อ-สุวรรณภูมิ) และ[[รถไฟความเร็วสูงเชื่อม 3 สนามบิน|รถไฟฟ้าความเร็วสูงสายตะวันออกเชื่อม 3 สนามบิน]](ดอนเมือง-สุวรรณภูมิ-อู่ตะเภา) จำนวน 2 ชานชาลา [[รถไฟความเร็วสูงไทย-จีน (สายอีสาน)|รถไฟฟ้าความเร็วสูงสายตะวันออกเฉียงเหนือ]](ไทย-ลาว-จีน ช่วงบางซื่อ-นครราชสีมา-หนองคาย) จำนวน 4 ชานชาลา [[รถไฟความเร็วสูงในประเทศไทย|รถไฟฟ้าความเร็วสูงสายเหนือ]](บางซื่อ-พิษณุโลก-เชียงใหม่) จำนวน 2 ชานชาลา และ[[รถไฟความเร็วสูงในประเทศไทย|รถไฟฟ้าความเร็วสูงสายใต้]](บางซื่อ-ปาดังเบซาร์) จำนวน 2 ชานชาลา รวมทั้งสิ้น 10 ชานชาลา
 
ในปี พ.ศ. 2563 รฟท.จะเปิดประมูลโครงการระบบรถไฟชานเมืองสายสีแดงส่วนต่อขยาย 3 ช่วง พร้อมกันในเดือน มิ.ย.63 ซึ่งแบ่งเป็น 3 สัญญา ได้แก่ ช่วงรังสิต-มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มูลค่า 5,970 ล้านบาท , ช่วงตลิ่งชัน-ศิริราช มูลค่า 5,980 ล้านบาท คาดว่าจะได้ผู้รับเหมาภายในสิ้นปี 63 และในเบื้องต้นจะจะตั้งเป็นบริษัทเดินรถไฟชานเมืองสายสีแดง โดยจะขออนุมัติเงินกู้ 3,000 ล้านบาท เป็นทุนจดทะเบียนบริษัทฯ และจัดสรรบุคลากร ในช่วงแรก 773 อัตรา โดยมาจากการโอนย้ายของรฟท<reF>[https://www.kaohoon.com/content/348615 “รฟท.” จ่อเปิดยื่นซองประมูล “รถไฟฟ้าสายสีแดง” มิ.ย.นี้ ก่อนเปิดหวูดต้นปี 64 ]</ref>
 
 
 
 
==ชานชาลา==