ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โรงเรียนอัสสัมชัญธนบุรี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
บรรทัด 92:
*1.เครื่องหมายเชิดชูเกียรติที่ได้เป็นมิสชั่นนารีดีเด่น จากกระทรวงการต่างประเทศสเปน เมื่อ พ.ศ. 2505
*2.เครื่องราชอิสริยาภรณ์ Great Cross of Isabel La Catolica ชั้นที่ 2 โดย Mr.Castielle รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศสเปน ในปี พ.ศ. 2507
*3.เครื่องราชอิสริยาภรณ์ Great Cross of Isabel La Catolica ชั้นที่ 1 จาก[[สมเด็จพระราชาธิบดีควน การ์โลสที่ 1 แห่งสเปน]] ในการเสด็จพระราชดำเนินเยือนประเทศไทยอย่างเป็นทางการ ในฐานะพระราชอาคันตุกะ ระหว่างที่ท่านดำรงตำแหน่ง[[อธิการเจ้าคณะแขวง]]ท่านได้ก่อตั้งอัสสัมชัญธนบุรี อัสสัมชัญลำปาง อัสสัมชัญระยอง อัสสัมชัญอุบลราชธานี อัสสัมชัญศรีราชา เกษียณอายุแล้วท่านได้ใช้เวลาเขียนหนังสือเกี่ยวกับประวัติของคณะภราดาในประเทศไทยพระศาสนจักร[[โรมันคาทอลิกในประเทศไทย]] เช่น 30 ปี โรคเรื้อน,มรดกของเรา ประวัติภราดา 10 ท่าน ชื่อเสียงในประเทศไทย NOK เซนต์คาเบรียล ประเทศไทย
 
== ทำเนียบผู้บริหารโรงเรียน ==
ระหว่างที่ท่านดำรงตำแหน่ง[[อธิการเจ้าคณะแขวง]] ท่านได้ก่อตั้งโรงเรียนอัสสัมชัญธนบุรี โรงเรียนอัสสัมชัญลำปาง โรงเรียนอัสสัมชัญระยอง โรงเรียนอัสสัมชัญอุบลราชธานี โรงพยาบาลที่โรงเรียนอัสสัมชัญศรีราชา (ยุวลัยนักบุญหลุยส์มารี ในปัจจุบัน) และก่อสร้างศูนย์กลางแขวงไทยที่ซองทองหล่อ หลังจากเกษียณอายุแล้ว ท่านได้ใช้เวลาในการเขียนหนังสือเกี่ยวกับประวัติของคณะภราดาในประเทศไทย พระศาสนจักร[[โรมันคาทอลิกในประเทศไทย]] หนังสืออื่นๆ เช่น 30 ปีกับคนโรคเรื้อน, มรดกของเรา (ประวัติภราดา 10 ท่านที่ทำชื่อเสียงในประเทศไทย) บทความเกี่ยวกับโรงเรียนต่างๆ และข่าวในวารสาร NOK ซึ่งเป็นวารสารในคณะภราดาเซนต์คาเบรียลแขวงประเทศไทย
 
== ทำเนียบผู้บริหารโรงเรียน ==
{| class="wikitable" width="70%"
|-
! ลำดับที่
! ชื่อ - สกุลนามสกุล
! ตำแหน่ง
! วาระการดำรงตำแหน่ง
 
|-