ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ฃ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ย้อนกลับไปรุ่น 8465066 วันที่ 2019-08-23 19:51:23 โดย Wedjet ด้วยป็อปอัพ
บรรทัด 25:
ครั้นถึงสมัย[[อาณาจักรอยุธยา]] ตัวภาษาได้เกิดการเปลี่ยนแปลงไปมาก<ref>[http://thaiarc.tu.ac.th/thai/thai.htm About Thai language] {{en icon}}</ref> ซึ่งคาดว่าอาจเป็นเพราะว่ามีการใช้ศัพท์ใหม่เพิ่มเข้ามา<ref>[http://boatofarts.multiply.com/journal/item/14 มองลักษณะเด่นของภาษาไทยสมัยอยุธยา]</ref> จากนั้นพบว่ามีการใช้ ฃ เริ่มลดลง แม้จะยังพอมีใช้กันบ้าง ทว่าไม่ปรากฏหลักเกณฑ์การใช้ ฃ ในตำราว่าด้วย[[อักขรวิธี]]ของไทยในสมัยนั้น อีกทั้งพบว่าหลงเหลือหลักฐานอยู่น้อยมาก เช่น จารึกบนแผ่นอิฐมอญ จำนวน 3 ชิ้น ซึ่งพบที่ฝาผนังอุโบสถวัดท่าพูด อำเภอสามพราน<ref>[http://www.tv5.co.th/service/mod/heritage/nation/oldcity/nakhonpathom8.htm จิตกรรมไทยสมัยอยุธยา]</ref>
 
=== สมัยรัตนโกสินทร์ ===
=== มโนเอง ===
 
ในไฏ่ยนมาดมนี่รัชกาล[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] [[พระยาศรีสุนทรโวหาร]]ได้ระบุคำที่เขียนด้วย ฃ ในหนังสือชื่อ นิติสารสาธก เล่ม 1 ได้แก่ ฃอ<ref name="ฃอ"/>, ฃ้อความ, ฃัน, ฃาน, ฃาด, ฃายหน้า, ฃำ, เฃา, เฃ้า, ฃุน, ไฃ, โฃก, ฃอง, เฃียน, ฃยัน และฃลุม
 
ในรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ในหนังสือ ''"อักขราภิธานศรับท์"'' ของ[[หมอบรัดเลย์]] ซึ่งตีพิมพ์เมื่อ พ.ศ. 2416 พบคำที่ใช้ ฃ ขวด ได้แก่ "ฃิก, ฃุก ๆ, ฃุกฃัก, ฃุกค่ำฃุกคืน, เฃกหัว, เฃกโฃก, แฃก, โฃก, ฃอกรั้ว, ฃงจู๊ และ ฃัง" (เฉพาะคำว่า "ขัง" พอเป็นลูกคำ เช่น ขังไก่ ขังคน ฯลฯ ใช้ ข ไข่ทั้งหมด) คำว่า "ข้าง" ใช้ ฃ ขวดก็มี ข ไข่ก็มี ส่วนคำที่ใช้ ข "ขิง, ขึง, ขึ้ง เข่ง, แขง, แข่ง, แข้ง, โขง, โข่ง, ของ" (รวมทั้งลูกคำ ยกเว้น ของสงฆ์) อันแสดงให้เห็นถึงความไม่มีเอกภาพในการใช้ ข ไข่ และ ฃ ขวด<ref>http://www.aksorn.com/webguide/webguide_detail.php?content_id=858</ref>
บรรทัด 35:
จนถึงปัจจุบัน แม้ในพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2493 จนถึงฉบับปรับปรุงแก้ไข พ.ศ. 2542 ก็ได้ให้คำอธิบายตัวอักษร 2 ตัวคือ ฃ และ ฅ ว่า "''เลิกใช้แล้ว''"<ref name="ฃ"/><ref>[http://rirs3.royin.go.th/word46/word-46-a1.asp ฅ]</ref> ทั้งที่ไม่เคยมีการประกาศเลิกใช้อย่างเป็นทางการแต่อย่างใด<ref>[http://www.nrct.net/modules.php?op=modload&name=News&file=article&sid=2106 สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ]</ref> ในสมัยหลังมา ปรากฏว่าใช้คำว่า เฃตร ที่ใช้พยัญชนะ ฃ อยู่เพียงคำเดียว จึงได้เรียกชื่ออักษรดังกล่าวว่า "ฃ เฃตร" แต่ภายหลังคำว่า "เฃตร" ก็เลิกใช้ไปอีก โดยแปลงเป็น[[เขต]]แทน ทำให้คำที่ปรากฏว่าใช้ ฃ ขวด ไม่มีอีกแล้วในภาษาไทย
 
=== การหายไป ===
=== กรำฝันดมยะขงคัตจมูก +เงิน$$$ ===
สำหรับสาเหตุที่ทำให้มีการเลิกใช้ ฃ (ขวด) และ ฅ (คน) ไปอย่างสิ้นเชิงทีเดียวเลยนั้น คงเนื่องมาจากว่า [[เครื่องพิมพ์ดีด]]ภาษาไทยยุคแรกในปี [[พ.ศ. 2434]] (ตรงกับรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว) ซึ่งนายเอ็ดวิน ฮันเตอร์ แมคฟาร์แลนด์ได้ดัดแปลงเครื่องพิมพ์ดีดมาจากแบบของโรงงานสมิทพรีเมียร์นั้น ตัวแป้นพิมพ์มีตัวอักษรไม่เพียงพอที่จะรองรับอักษรไทยทั้งหมด และด้วยเหตุผลที่ว่า "[ฃ] เป็นพยัญชนะที่ไม่ค่อยได้ใช้ และสามารถทดแทนด้วยพยัญชนะตัวอื่นได้"<ref>http://www.edutoday.in.th/variousnews.php?vnid=201</ref> จึงมีการตัดพยัญชนะออก 2 ตัว คือ ฃ และ ฅ<ref name="ภูมิปัญญาไทย"/> ซึ่งศาสตราจารย์ยอร์ช เซเดส์ได้เขียนเล่าไว้ในหนังสือ "ตำนานอักษรไทย"
 
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/ฃ"