ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รถไฟฟ้ามหานคร สายสีชมพู"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Magnamonkun (คุย | ส่วนร่วม)
→‎รายชื่อสถานี: แก้คำตกหล่นที่เติมลงไปถูกต้องแล้วครับ
บรรทัด 18:
|routes =
|ridership =
|open = 5 ตุลาคม [[พ.ศ. 2564]] ''(เฉพาะเส้นทางหลัก)''
|close =
|owner = [[การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย]]
บรรทัด 105:
|
|-
| | PK01 || ''ศูนย์ราชการนนทบุรี''||'''{{BTS Lines|รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรม}} <font color={{BTS color|รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรม}}>[[สถานีศูนย์ราชการนนทบุรี]]</font>''' <br/>''{{BTS Lines|รถไฟฟ้าสายสีน้ำตาล}} <font color={{BTS color|รถไฟฟ้าสายสีน้ำตาล}}>[[สถานีศูนย์ราชการนนทบุรี]]</font>'' || rowspan="2" | บางกระสอ || rowspan="4" |[[อำเภอเมืองนนทบุรี|เมืองนนทบุรี]]|| rowspan="10" |[[จังหวัดนนทบุรี|นนทบุรี]]|| rowspan="30" |''[[พ.ศ. 2564|5 ตุลาคม พ.ศ. 2564]]''
|-
| | PK02 || ''[[สถานีแคราย (รถไฟฟ้าสายสีชมพู)|แคราย]]'' ||
|-
| | PK03 || ''[[สถานีสนามบินน้ำ (รถไฟฟ้าสายสีชมพู)|สนามบินน้ำ]]'' || || rowspan="2" | ท่าทราย
|-
| | PK04 || ''[[สถานีสามัคคี|สามัคคี]]'' ||
|-
| | PK05 || ''กรมชลประทาน'' || || บางตลาด || rowspan = "6"|[[อำเภอปากเกร็ด|ปากเกร็ด]]
|-
| | PK06 || ''แยกปากเกร็ด'' || '''{{BTS Lines|เรือด่วนเจ้าพระยา}} <font color={{BTS color|เรือด่วนเจ้าพระยา}}>ท่าปากเกร็ด</font>''' || rowspan = "2"|ปากเกร็ด
|-
| | PK07 || ''เลี่ยงเมืองปากเกร็ด'' ||
|-
| | PK08 || ''แจ้งวัฒนะ-ปากเกร็ด 28'' || ||rowspan = "3"|คลองเกลือ
|-
| | PK09 || ''[[สถานีเมืองทองธานี (รถไฟฟ้าสายสีชมพู)|เมืองทองธานี]]'' ||
|-
| | PK10 || ''[[สถานีศรีรัช (รถไฟฟ้าสายสีชมพู)|ศรีรัช]]'' || '''เส้นทางสายแยก''' (อิมแพคลิงก์)
|-
| | PK11 || ''แจ้งวัฒนะ 14'' || || rowspan = "3"|ทุ่งสองห้อง || rowspan = "4"|[[เขตหลักสี่|หลักสี่]] || rowspan="20" | [[กรุงเทพมหานคร]]
|-
| | PK12 || ''ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ''||
|-
| | PK13 || ''ทีโอที'' ||
|-
| | PK14 || ''หลักสี่'' || ''{{BTS Lines|รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงเข้ม}} <font color={{BTS color|รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงเข้ม}}>[[สถานีหลักสี่ (รถไฟฟ้าชานเมือง)|สถานีหลักสี่]]</font>''|| ตลาดบางเขน
|-
| | PK15 || ''[[สถานีราชภัฎพระนคร (รถไฟฟ้าสายสีชมพู)|ราชภัฏพระนคร]]'' || || rowspan = "5"|อนุสาวรีย์ || rowspan = "7"| [[เขตบางเขน|บางเขน]]
|-
| | PK16 || ''[[สถานีวัดพระศรีมหาธาตุ|วัดพระศรีมหาธาตุ]]'' || ''{{BTS Lines|รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท}} <font color={{BTS color|รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท}}>[[สถานีวัดพระศรีมหาธาตุ]]</font>''
|-
| | PK17 || ''รามอินทรา 3'' ||
|-
| | PK18 || ''ลาดปลาเค้า'' ||
|-
| | PK19 || ''รามอินทรา กม.4'' ||
|-
| | PK20 || ''มัยลาภ'' || || rowspan = "2"|ท่าแร้ง
|-
| | PK21 || ''วัชรพล'' || ''{{BTS Lines|รถไฟฟ้าสายสีเทา}} <font color={{BTS color|รถไฟฟ้าสายสีเทา}}>[[สถานีวัชรพล (รถไฟฟ้าสายสีเทา)|สถานีวัชรพล]]</font>''
|-
| | PK22 || ''รามอินทรา กม.6'' || || rowspan = "3"|รามอินทรา || rowspan = "5"|[[เขตคันนายาว|คันนายาว]]
|-
| | PK23 || ''คู้บอน'' ||
|-
| | PK24 || ''รามอินทรา 83'' ||
|-
| | PK25 || ''ปัญญาอินทรา'' || || rowspan = "2"|คันนายาว
|-
| | PK26 || ''นพรัตน์'' ||
|-
| | PK27 || ''บางชัน'' || || rowspan="4" |มีนบุรี || rowspan="4" |[[เขตมีนบุรี|มีนบุรี]]
|-
| | PK28 || ''เศรษฐบุตรบำเพ็ญ'' ||
|-
| | PK29 || ''ตลาดมีนบุรี'' ||
|-
| | PK30 || ''[[สถานีมีนบุรี|มีนบุรี]]'' ||''{{BTS Lines|รถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้ม}} <font color={{BTS color|รถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้ม}}>[[สถานีมีนบุรี]]</font>'' <br>อาคารจอดแล้วจร, ศูนย์ซ่อมบำรุง
|-
|- style = "background:#{{BTS color|รถไฟฟ้าสายสีชมพู}}; height: 2pt"
บรรทัด 176:
|-
| | PK10
| ''[[สถานีศรีรัช (รถไฟฟ้าสายสีชมพู)|ศรีรัช]]''
| '''เส้นทางสายหลัก'''
| คลองเกลือ || rowspan="3" |[[อำเภอปากเกร็ด|ปากเกร็ด]]|| rowspan="3" |[[จังหวัดนนทบุรี|นนทบุรี]]
| rowspan="3" | ยังไม่มีกำหนด5 ตุลาคม พ.ศ. 2565
|-
| | PKS01 || ''อิมแพคชาเลนเจอร์'' || || rowspan = "2"|บ้านใหม่
|-
| | PKS02 || ''ทะเลสาบเมืองทองธานี'' ||
|- style = "background:#{{BTS color|รถไฟฟ้าสายสีชมพู}}; height: 2pt"
| colspan="6" |
บรรทัด 281:
* 26 ตุลาคม พ.ศ. 2555 นายวิชาญ มีนชัยนันท์ พร้อมด้วย นายจิรายุ ห่วงทรัพย์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร เขต 18 เขตคลองสามวา พรรคเพื่อไทย ร่วมกันแถลงเรียกร้องให้รัฐบาลรับฟังความเห็นจากประชาชนในโซนตะวันออกของ กรุงเทพมหานคร เกี่ยวกับการสร้างรถไฟฟ้าสายสีชมพู ว่า ที่ผ่านมาสำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร (สนข.) และกรุงเทพมหานคร ได้ใช้ผลการสำรวจออกแบบการก่อสร้างตั้งแต่ปี2547 โดยกำหนดให้รถไฟฟ้าสายสีชมพูมีสถานีจอดอยู่ที่ตลาดมีนบุรี ซึ่งปัจจุบันนี้สภาพความเป็นอยู่ของคน กทม.ในโซนตะวันออกเปลี่ยนแปลงไปแล้ว มีการกระจายตัวออกไปอยู่ย่านสุวินทวงศ์ คลองสามวา หนองจอก ซึ่งหากยังคงแผนการก่อสร้างเดิมจะทำให้ไม่สามารถรองรับประชาชนในบริเวณดังกล่าวได้ พวกตนจึงทำหนังสือถึง น.ส.ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี และ พล.ต.ท.ชัจจ์ กุลดิลก รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม สำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร สนข. และการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.) เพื่อขอให้รับฟังความเห็นของประชาชนที่เดือดร้อน ซึ่งต้องการให้มีการขยายเส้นทางไปจนถึงถนนสุวินทวงศ์ เพื่อรองรับประชาชนในโซนตะวันออกมากขึ้น ทั้งนี้พวกตนไม่มีจุดประสงค์ในการขัดขวางทำให้การก่อสร้างรถไฟฟ้าสีชมพูล่าช้าลง แต่อยากให้โครงการเป็นไปตามความต้องการของประชาชน<ref>http://www.dailynews.co.th/politics/158930</ref>
 
* 30 ตุลาคม พ.ศ. 2555 ตุลาคม พ.ศ. 2555 รัฐฯ ทาบ “บางกอกแลนด์” สร้างส่วนต่อขยาย-สถานีจอดรถไฟฟ้าสายสีชมพูให้บริการผู้ใช้ถึงอิมแพค เมืองทองธานี เรียกเงิน 1,200 ล้านค่าก่อสร้างสถานี และส่วนต่อขยาย ด้านบางกอกแลนด์เสนอ 2 ทางเลือก 1.สร้างเอง 2.ออกค่าก่อสร้าง 50% ทางบีแลนด์เห็นว่าในการก่อสร้างสถานีรถไฟฟ้า และขยายเส้นทางให้บริการเข้ามาในอิมแพคฯ นั้น วงเงินที่บริษัทต้องจ่ายให้รัฐบาลพร้อมกับที่ดินจำนวน 20 ไร่นั้น ในส่วนของที่ดินเห็นว่าบริษัทไม่สามารถยกให้เปล่าได้แต่หากจะยกให้ก็จะขอพัฒนาพื้นที่ด้านบนเป็นมอลล์ขนาดใหญ่ ผสมผสานอาคารสูงจำนวนหนึ่ง ขณะที่สถานีจอดรถจะก่อสร้างอยู่ใต้พื้นดิน หรือใต้มอลล์ที่จะพัฒนาขึ้น ส่วนวงเงิน 1,200 ล้านบาท เบื้องต้น บริษัทเห็นว่าควรเป็นการลงทุนร่วมกันระหว่างบริษัท และรัฐบาลโดยการจ่ายเงินเพียง 50% หรือ 600 ล้านบาท ส่วนที่เหลือให้รัฐบาลเป็นผู้จ่าย อย่างไรก็ตาม หากรัฐบาลไม่เห็นด้วยในแนวทางแรกก็อาจหยิบยกข้อเสนอที่ 2 ขึ้นมาพิจารณาคือ บีแลนด์จะลงทุนพัฒนาก่อสร้างสถานีจอดรถไฟฟ้าเอง โดยคาดว่าจะพัฒนาเป็นรถไฟฟ้ารางเดี่ยวเชื่อมต่อจากสถานีรถไฟฟ้าแจ้งวัฒนะ ซึ่งคาดว่าจะใช้งบลงทุนก่อสร้างประมาณ 600 ล้านบาท ซึ่งล่าสุด บริษัทได้ว่าจ้างบริษัท เทศโก้ จำกัด ให้ออกแบบสถานีจอดรถไฟฟ้ารางเดี่ยวไว้แล้ว
 
* โครงการนี้เป็น1ในโครงการที่ทาง [[สร้อยทิพย์ ไตรสุทธิ์]] ปลัดกระทรวงคมนาคมเตรียมนำโครงการนี้เสนอคณะรัฐมนตรีภายในสิ้นปี พ.ศ. 2557 และจะเปิดประมูลช่วงต้นปี พ.ศ. 2558