ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พายุหมุนเขตร้อน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Dolkungbighead (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 8703074 สร้างโดย 2405:9800:BC02:6318:F4D6:6E6B:2EA9:3010 (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 1:
{{บทความคัดสรร}}
{{ความหมายอื่น|เกี่ยวกับ= |สำหรับ= |ดูที่=ไซโคลน (แก้ความกำกวม)}}
[[ไฟล์:Hurricane Isabel from ISS.jpg|right|300px|thumb|[[พายุเฮอริเคนอิสซาเบล]] (ปี 2013) เมื่อสังเกตจาก[[สถานีอวกาศนานาชาติ]] [[ตา (พายุหมุน)|ตาพายุ]], กำแพงตาพายุ, และแถบฝนโดยรอบ ทั้งหมดเป็นลักษณะของพายุหมุนเขตร้อนในความหมายอย่างแคบ เห็นได้อย่างชัดเจนจากอวกาศ]]
{{สภาพอากาศ}}
{{พายุหมุนเขตร้อน}}
{{ใช้ปีคศ}}
 
'''พาพายุหมุนเขตร้อน'''ากาศ เป็นระบบ[[พายุ]]ที่หมุนอย่างรวดเร็ว มีลักษณะได้แก่ ศูนย์กลาง[[บริเวณความกดอากาศต่ำ|ความกดอากาศต่ำ]] การไหลเวียนของบรรยากาศระดับต่ำแบบปิด ลมกระโชกแรง และการจัดเรียงของ[[พายุฟ้าคะนอง]]แบบก้นหอยซึ่งให้เกิดฝนตกหนัก พายุหมุนเขตร้อนมีชื่อเรียกหลายชื่อขึ้นอยู่กับตำแหน่งบนโลกและกำลัง เช่น เฮอริเคน ไต้ฝุ่น พายุหมุนเขตร้อน พายุไซโคลน ดีเปรสชันเขตร้อน หรือเรียกเพียงพายุหมุน<ref name="HCT">{{cite web | title = What is the difference between a hurricane, a cyclone, and a typhoon? | work = OCEAN FACTS | publisher = [[National Ocean Service]] | url = http://oceanservice.noaa.gov/facts/cyclone.html | accessdate = December 24, 2016 }}</ref> เฮอริเคนเป็นพายุหมุนเขตร้อนที่เกิดใน[[มหาสมุทรแอตแลนติก]]และ[[มหาสมุทรแปซิฟิก]]ตะวันออกเฉียงเหนือ และไต้ฝุ่นเกิดในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกเฉียงเหนือ ส่วนในมหาสมุทรแปซิฟิกใต้หรือ[[มหาสมุทรอินเดีย]] พายุขนาดเท่า ๆ กันเรียกเพียง "พายุหมุนเขตร้อน" หรือ "พายุหมุนกำลังแรง"<ref name="HCT" />
คำว่า "[[เขตร้อน]]" หมายถึง บริเวณกำเนิดทางภูมิศาสตร์ของระบบเหล่านี้ซึ่งแทบทั้งหมดเกินในทะเลเขตร้อน "พายุหมุน" หมายถึงลมที่เคลื่อนที่เป็นวงกลม โดยพัดรอบตาพายุ ณ ศูนย์กลางที่ปลอดลมและฝน และลมที่พัดในทิศทวมเข็มนาฬิกาใน[[ซีกโลกเหนือ]]และตามเข็มนาฬิกาใน[[ซีกโลกใต้]] ทิศทางการไหลเวียนดังกล่าวเกิดจาก[[แรงคอริออลิส]] พายุหมุนเขตร้อนตรงแบบก่อตัวขึ้นเหนือแหล่งน้ำค่อนข้างอุ่นขนาดใหญ่ พายุเหล่านี้ได้พลังงานจาก[[การระเหย]]ของน้ำจากผิวมหาสมุทร ซึ่งสุดท้ายจะ[[การควบแน่น|ควบแน่น]]เป็น[[เมฆ]]และตกลงเป็น[[ฝน]]เมื่ออากาศชื้นลอยตัวขึ้นและเย็นตัวลงจนอิ่มตัว แหล่งพลังงานนี้ต่างจาก[[พายุหมุนนอกเขตร้อน|พายุหมุนละติจูดกลาง]] เช่น นอร์เอสเตอร์และวินสตอร์มยุโรป (European windstorm) ซึ่งได้พลังงานมาจากความต่างของอุณหภูมิแนวนอนเป็นหลัก พายุหมุนเขตร้อนตรงแบบมีเส้นผ่านศูนย์กลางระหว่าง 100 ถึง 2,000 กิโลเมตร
 
ลมที่หมุนอย่างแรงของพายุหมุนเขตร้อนเป็นผลของการอนุรักษ์[[โมเมนตัมเชิงมุม]]ที่ส่งผ่านจาก[[การหมุนของโลก]]เมื่ออากาศไหลเข้าข้างในสู่แกนหมุน ผลทำให้พายุหมุนเขตร้อนมักไม่เกิดภายใน 5° จากศูนย์สูตร<ref name="BAMS Zhang 1988">{{Cite journal | doi = 10.1175/1520-0477(1998)079<0019:TCAGCC>2.0.CO;2| title = Tropical Cyclones and Global Climate Change: A Post-IPCC Assessment| journal = Bulletin of the American Meteorological Society| volume = 79| pages = 19–38| year = 1998| last1 = Henderson-Sellers | first1 = A.| last2 = Zhang | first2 = H.| last3 = Berz | first3 = G.| last4 = Emanuel | first4 = K.| last5 = Gray | first5 = W.| last6 = Landsea | first6 = C.| last7 = Holland | first7 = G.| last8 = Lighthill | first8 = J.| last9 = Shieh | first9 = S.L. | last10 = Webster | first10 = P.| last11 = McGuffie | first11 = K.|bibcode = 1998BAMS...79...19H }}</ref> พายุหมุนเขตร้อนแทบไม่ปรากฏในมหาสมุทรแอตแลนติกใต้เนื่องจากมี[[ลมเฉือน]]พัดแรงตลอดเวลาและ[[ร่องความกดอากาศต่ำ]]ที่อ่อน<ref>{{cite web | url =http://www.aoml.noaa.gov/hrd/tcfaq/G6.html | title =Why doesn't the South Atlantic Ocean experience tropical cyclones? | last =Landsea | first =Chris | date =13 July 2005 | website =Atlantic Oceanographic and Meteorlogical Laboratory | publisher =National Oceanographic and Atmospheric Administration | access-date =9 June 2018}}</ref> เช่นเดียวกับที่ลมฝ่ายตะวันออกแอฟริกาและบริเวณที่มีความไร้เสถียรภาพของบรรยากาศซึ่งทำให้เกิดพายุหมุนในมหาสมุทรแอตแลนติกและ[[ทะเลแคริบเบียน]] ร่วมกับมรสุมเอเชียและแอ่งน้ำอุ่นแปซิฟิกตะวันตก เป็นลักษณะของซีกโลกเหนือและออสเตรเลีย
 
พื้นที่ชายฝั่งมีความเสี่ยงได้รับผลกระทบจากพายุหมุนเขตร้อนมากเป็นพิเศษเมื่อเทียบกับพื้นที่ในแผ่นดิน แหล่งพลังงานหลักสำหรับพายุหมุนคือน้ำอุ่นมหาสมุทร ฉะนั้นพายุจึงมักเกิดเมื่ออยู่เหนือหรือใกล้แหล่งน้ำ และอ่อนกำลังลงค่อนข้างรวดเร็วเมื่อพัดเข้าแผ่นดิน ความเสียหายแถบชายฝั่งอาจเกิดจากลมและฝนตกหนัก คลื่นทะเลสูง (เกิดจากลม) คลื่นพายุซัดฝั่ง (เกิดจากลมและการเปลี่ยนแปลงความกดอากาศอย่างรุนแรง) และโอกาจเกิดทอร์เนโด พายุหมุนเขตร้อนยังพัดพาอากาศจากพื้นที่ขนาดใหญ่และทำให้[[หยาดน้ำฟ้า]]ซึ่งเป็นปริมาณน้ำในอากาศนั้น (เกิดจากความชื้นในบรรากาศและความชื้นที่ระเหยจากน้ำ) กระจุกตัวในพื้นที่เล็ก ๆ การแทนที่อากาศที่นำความชื้นด้วยอากาศที่นำความชื้นใหม่หลังความชื้นตกลงเป็นฝนแล้วอย่างต่อเนื่องนั้น ซึ่งก่อให้เกิดฝนตกหนักอย่างยิ่งและแม่น้ำล้นตลิ่งเป็นระยะทางสูงสุด 40 กิโลเมตรจากแนวชายฝั่ง เกินกว่าปริมาณน้ำที่บรรยากาศในท้องถิ่นมีอยู่ ณ ขณะหนึ่งมาก