ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อุกกาบาตเมอร์ชิสัน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Boom1221 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Murchison crop.jpg|thumb|200px|ตัวอย่างอุกกาบาตมูร์เมอร์ชิสันที่[[พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยาแห่งชาติ]] วอชิงตัน ดี.ซี.]]
 
'''อุกกาบาตมูร์ชิสันเมอร์ชิสัน''' ({{lang-en|Murchison meteorite}}) เป็นหนึ่งใน[[อุกกาบาต]]ที่ได้รับการศึกษามากที่สุดเนื่องจากมวลของอุกกาบาตลูกนี้ (>100 กิโลกรัม) และข้อเท็จจริงที่ว่า[[การตกของอุกกาบาต|การตกนี้ได้รับการสังเกต]] อุกกาบาตลูกนี้ตกที่โลกใกล้กับ[[มูร์ชิสันเมอร์ชิสัน (รัฐวิกทอเรีย)|มูร์ชิสันเมอร์ชิสัน รัฐวิกทอเรีย]] ใน[[ประเทศออสเตรเลีย]] เมื่อปี พ.ศ. 2512 (ค.ศ. 1969) อุกกาบาตลูกนี้เป็นส่วนหนึ่งในกลุ่มของอุกกาบาตที่อุดมไปด้วย[[สารประกอบอินทรีย์]]
 
ในเดือนมกราคม พ.ศ. 2563 นักดาราศาสตร์รายงานว่า[[หินเก่าแก่ที่สุดที่ระบุวันที่|วัสดุที่เก่าแก่ที่สุด]]ในโลกเท่าที่พบเจอในปัจจุบัน คือ อนุภาค[[ซิลิกอนคาร์ไบด์]]จากอุกกาบาตมูร์ชิสันเมอร์ชิสัน ซึ่งค้นพบว่ามีอายุ 7 พันล้านปี มากกว่า[[อายุของโลก|อายุ 4.54 พันล้านปีของโลก]]และ[[กำเนิดและวิวัฒนาการของระบบสุริยะ|ระบบสุริยะ]]ประมาณ 2.5 พันล้านปี{{efn|นักดาราศาสตร์พิจารณาเม็ดฝุ่นดวงดาวที่พบในอุกกาบาตมูร์เมอร์ชิสันให้เป็น [[presolar grains]] เพราะเกิดขึ้นก่อนที่[[ดวงอาทิตย์]]จะก่อตัว}} ผลการศึกษาที่ตีพิมพ์ออกมาระบุว่า "ค่าประมาณอายุขัยของฝุ่นขึ้นอยู่กับแบบจำลองทฤษฎีที่ซับซ้อนเป็นหลัก แบบจำลองดังกล่าวนี้มุ่งไปที่เม็ดฝุ่นขนาดเล็กทั่วไปมากกว่าและอยู่บนพื้นฐานของสมมติฐานที่มีความไม่แน่นอนสูง"<ref name="LS-20200113" />
 
== ประวัติ ==
ในวันที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2512 เวลาประมาณ 10:58 นาฬิกาตามเวลาท้องถิ่น ใกล้กับ[[มูร์ชิสันเมอร์ชิสัน (รัฐวิกทอเรีย)|มูร์ชิสันเมอร์ชิสัน รัฐวิกทอเรีย]] ใน[[ประเทศออสเตรเลีย]] มีการสังเกตเห็น[[สะเก็ดดาว|ลูกไฟ]]สว่างแยกออกเป็นสะเก็ดสามชิ้นก่อนที่จะหายไป<ref name="database">{{metbull|16875|Murchison}}</ref> เหลือแต่กลุ่มควัน หลังจากนั้นประมาณ 30 วินาที มีเสียงสั่นสะเทือนดังขึ้น สะเก็ดจำนวนมากพบได้อย่างกระจัดกระจายในพื้นที่กว้างกว่า 13 ตารางกิโลเมตร (8,125 ไร่) วัดมวลแต่ละชิ้นได้หนักถึง 7 กิโลกรัม สะเก็ดชิ้นหนึ่งหนัก 680 กรัม ทะลุหลังคาลงมาและตกใส่กองฟาง<ref name="database" /> มวลโดยรวมของอุกกาบาตที่รวบรวมได้นั้นเกิน 100 กิโลกรัม<ref>Pepper, F. [https://www.abc.net.au/news/science/2019-10-02/murchison-meteorite-50th-anniversary-1969-science-geology/11528644 When a space visitor came to country Victoria] ''[[ABC News (Australia)|ABC News]]'', 2 October 2019. Retrieved 2 October 2019.</ref>
 
== การจัดประเภทและองค์ประกอบ ==
อุกกาบาตมูร์เมอร์ชิสันได้รับการจัดประเภทให้อยู่ใน[[การจัดประเภทอุกกาบาต|กลุ่มซีเอ็ม]]ของ[[คอนไดรต์คาร์บอน]] (carbonaceous chondrite) อุกกาบาตลูกนี้ได้รับการจัดให้อยู่ใน[[ประเภททางศิลาวิทยาที่ 2]] เช่นเดียวกับคอนไดรต์ซีเอ็มส่วนใหญ่ ซึ่งหมายความว่าอุกกาบาตลูกนี้ได้เปลี่ยนแปลงอย่างหนักโดยของไหลที่อุดมไปด้วยน้ำบน[[เทหวัตถุต้นกำเนิด]]<ref>{{cite journal |last1=Airieau |first1=S. A. |last2=Farquhar |first2=J. |last3=Thiemens |first3=M. H. |last4=Leshin |first4=L. A. |last5=Bao |first5=H. |last6=Young |first6=E. |doi=10.1016/j.gca.2005.01.029 |title=Planetesimal sulfate and aqueous alteration in CM and CI carbonaceous chondrites |journal=Geochimica et Cosmochimica Acta |volume=69 |issue=16 |pages=4167–4172 |date=2005 |bibcode=2005GeCoA..69.4167A |citeseerx=10.1.1.424.6561 }}
<!-- NOT THE SAME PAPER! |url=http://www.lpi.usra.edu/meetings/lpsc2007/pdf/1230.pdf |format=PDF it's this paper : http://adsabs.harvard.edu/abs/2007LPI....38.1230R Progressive Alteration of CM Chondrites: Effects on Refractory Inclusions -->
</ref> ก่อนที่จะตกลงมายังโลก คอนไดรต์กลุ่มซีเอ็มกับกลุ่มซีไอนั้นอุดมไปด้วย[[คาร์บอน]] และเป็นหนึ่งในอุกกาบาตดึกดำบรรพ์ทางเคมีมากที่สุด<ref>{{cite web |url=http://www.psrd.hawaii.edu/PSRDglossary.html |title=Planetary Science Research Discoveries: Glossary |date= }}</ref> อุกกาบาตมูร์เมอร์ชิสันประกอบไปด้วย[[ตำหนิอุดมด้วยแคลเซียม–อะลูมิเนียม]]เช่นเดียวกับคอนไดรต์กลุ่มซีเอ็มอื่น ๆ ในอุกกาบาตลูกนี้ยังพบ[[กรดอะมิโน]]มากกว่า 15 ชนิด ซึ่งเป็นองค์ประกอบพื้นฐานหนึ่งของชีวิต ผ่านการศึกษาอุกกาบาตลูกนี้หลายชิ้น<ref name="Kvenvolden">{{cite journal |title=Nonprotein Amino Acids from Spark Discharges and Their Comparison with the Murchison Meteorite Amino Acids |last=Wolman |first=Yecheskel |last2=Haverland |first2=William J. |last3=Miller |first3=Stanley L. |journal=[[Proceedings of the National Academy of Sciences]]|volume=69 |issue=4 |pages=809–811 |date=April 1972 |pmc=426569 |pmid=16591973 |doi=10.1073/pnas.69.4.809|bibcode = 1972PNAS...69..809W }}</ref>
 
ในเดือนมกราคม พ.ศ. 2563 นักดาราศาสตร์ค้นพบว่าอนุภาค[[ซิลิกอนคาร์ไบด์]]จากอุกกาบาตมูร์เมอร์ชิสันมีอายุ 7 พันล้านปี มากกว่า[[อายุของโลก|อายุ 4.54 พันล้านปีของโลก]]และ[[กำเนิดและวิวัฒนาการของระบบสุริยะ|ระบบสุริยะ]] 2.5 พันล้านปี และยังเป็น[[หินเก่าแก่ที่สุดที่ระบุวันที่|วัสดุที่เก่าแก่ที่สุดในโลก]]เท่าที่ค้นพบในปัจจุบันด้วย<ref name="LS-20200113">{{cite news |last=Weisberger |first=Mindy |title=7 Billion-Year-Old Stardust Is Oldest Material Found on Earth - Some of these ancient grains are billions of years older than our sun. |url=https://www.livescience.com/oldest-material-on-earth.html |date=13 January 2020 |work=[[Live Science]] |accessdate=13 January 2020 }}</ref><ref name="PNAS-20200113">{{cite journal |last1=Heck |first1=Philipp R. |last2=Greer |first2=Jennika |last3=Kööp |first3=Levke |last4=Trappitsch |first4=Reto |last5=Gyngard |first5=Frank |last6=Busemann |first6=Henner |last7=Maden |first7=Colin |last8=Ávila |first8=Janaína N. |last9=Davis |first9=Andrew M. |last10=Wieler |first10=Rainer |title=Lifetimes of interstellar dust from cosmic ray exposure ages of presolar silicon carbide |journal=[[Proceedings of the National Academy of Sciences]] |date=13 January 2020 |doi=10.1073/pnas.1904573117|url=https://www.pnas.org/content/early/2020/01/07/1904573117|doi-access=free}}</ref>
 
== สารประกอบอินทรีย์ ==
[[ภาพ:Murchison-meteorite-ANL.jpg|thumb|สะเก็ดของอุกกาบาตมูร์ชิสันเมอร์ชิสัน (ขวา) และแยกอนุภาคแต่ละอนุภาคออกมา (ในหลอดทดลอง)]]
อุกกาบาตมูร์เมอร์ชิสันประกอบไปด้วย[[กรดอะมิโน]]ทั่วไป เช่น [[ไกลซีน]] [[อะลานีน]] และ[[กรดกลูตามิก]] ตลอดจนกรดอะมิโนหายากอย่าง[[ไอโซวาลีน]]และ[[กลุ่มลิวซีน|ซิวโดลิวซีน]]<ref>{{cite journal |title=Evidence for extraterrestrial amino-acids and hydrocarbons in the Murchison meteorite |last=Kvenvolden |first=Keith A. |last2=Lawless |first2=James |last3=Pering |first3=Katherine |last4=Peterson |first4=Etta |last5=Flores |first5=Jose |last6=Ponnamperuma |first6=Cyril |last7=Kaplan |first7=Isaac R. |last8=Moore |first8=Carleton |journal=[[Nature (journal)|Nature]] |volume=228 |issue=5275 |pages=923–926 |date=1970 |url=http://chemport.cas.org/cgi-bin/sdcgi?APP=ftslink&action=reflink&origin=npg&version=1.0&coi=1:CAS:528:DyaE3MXisVCnsg%3D%3D&pissn=0028-0836&pyear=1983&md5=cb8b015f54156458fa2be8cdca44789f |doi=10.1038/228923a0 |pmid=5482102 |bibcode=1970Natur.228..923K }}</ref> สารผสม[[แอลคีน]]ที่ซับซ้อนก็แยกออกมาได้จากอุกกาบาตลูกนี้เช่นกัน ซึ่งคล้ายกับที่พบในการ[[ทดลองมิลเลอร์–อูเรย์]] [[ซีรีน]]และ[[ทรีโอนีน]]ซึ่งเข้าใจกันว่าเป็นสารปนเปื้อนในโลกก็พบได้เป็นจำนวนมากในตัวอย่าง ตระกูลเฉพาะของกรดอะมิโนชื่อว่า[[กรดไดอะมิโน]]ก็พบได้ในอุกกาบาตมูร์เมอร์ชิสันเช่นกัน<ref>{{cite journal |title=Identification of diamino acids in the Murchison meteorite |last=Meierhenrich |first=Uwe J. |journal=[[PNAS]] |volume=101 |pages=9182–9186 |date=2004 |doi=10.1073/pnas.0403043101 |pmid=15194825 |issue=25 |pmc=438950 |bibcode=2004PNAS..101.9182M |last2=Bredehöft |first2=Jan Hendrik |last3=Jessberger |first3=Elmar K. |last4=Thiemann |first4=Wolfram H.-P. }}</ref>
 
รายงานฉบับแรกสุดนั้นระบุว่ากรดอะมิโนที่พบนั้นเป็น[[สารผสมแรซีมิก]] ดังนั้นจึงก่อตัวขึ้นโดยวิธีการอชีวนะ เพราะกรดอะมิโนของโปรตีนในโลกนั้นล้วนมีสัณฐานแบบแอลทั้งหมด ภายหลังมีการพบว่ากรดอะมิโนอะลานีนซึ่งเป็นกรดอะมิโนโปรตีนนั้นมีสัณฐานแบบแอลเป็นส่วนเกิน<ref>{{cite journal |title=Distribution and enantiomeric composition of amino acids in the Murchison meteorite |last=Engel |first=Michael H. |last2=Nagy |first2=Bartholomew |journal=[[Nature (journal)|Nature]] |volume=296 |pages=837–840 |date=29 April 1982 |doi=10.1038/296837a0 |issue=5860 |bibcode=1982Natur.296..837E }}</ref> ทำให้นำไปสู่การปนเปื้อนที่น่าสงสัยจากบนโลกตามประเด็นที่ว่า "จะแปลกที่การสลายตัวหรือการสังเคราะห์[[ความเป็นสเตรีโอซีเลกทีฟ|สเตรีโอซีเลกทีฟ]]แบบอชีวนะเกิดขึ้นกับกรดอะมิโนของโปรตีน แต่จะไม่แปลกถ้าเกิดขึ้นกับกระอะมิโนที่ไม่ใช่ของโปรตีน"<ref>{{cite journal |title=On the reported optical activity of amino acids in the Murchison meteorite |last=Bada |first=Jeffrey L. |last2=Cronin |first2=John R. |last3=Ho |first3=Ming-Shan |last4=Kvenvolden |first4=Keith A. |last5=Lawless |first5=James G. |last6=Miller |first6=Stanley L. |last7=Oro |first7=J. |last8=Steinberg |first8=Spencer |journal=[[Nature (journal)|Nature]] |volume=301 |pages=494–496 |date=10 February 1983 |doi=10.1038/301494a0 |issue=5900 |bibcode=1983Natur.301..494B }}</ref> ในปี พ.ศ. 2540 ยังมีการพบสัณฐานแบบแอลส่วนเกินใน[[ไอโซวาลีน]] อันเป็นกรดอะมิโนที่ไม่ใช่ของโปรตีน<ref>{{cite journal |last=Cronin |first=John R. |last2=Pizzarello |first2=S. |title=Enantiomeric excesses in meteoritic amino acids |journal=Science |date=1997 |volume=275 |pages=951–955 |doi=10.1126/science.275.5302.951 |pmid=9020072 |issue=5302|bibcode = 1997Sci...275..951C }}</ref> แสดงถึงต้นกำเนิดต่างดาวของอสมมาตรเชิงโมเลกุลในระบบสุริยะ ในเวลาเดียวกัน มีการพบสัณฐานแบบแอลส่วนเกินของอะลานีนอีกครั้งในอุกกาบาตมูร์ชิสันเมอร์ชิสัน แต่ครั้งนี้พบเป็นจำนวนมากในไอโซโทป <sup>15</sup>[[ไนโตรเจน|N]]<ref>{{cite journal |title=Isotopic evidence for extraterrestrial non-racemic amino acids in the Murchison meteorite |last=Engel |first=Michael H. |last2=Macko |first2=S. A. |journal=[[Nature (journal)|Nature]] |volume=389 |pages=265–268 |date=1 September 1997 |doi=10.1038/38460 |pmid=9305838 |issue=6648 |bibcode=1997Natur.389..265E }}</ref> ถึงกระนั้นการจับคู่ไอโซโทปถูกคัดค้านด้วยการวิเคราะห์ในภายหลัง<ref>{{cite journal |last=Pizzarello |first=Sandra |last2=Cronin |first2=JR |title=Alanine enantiomers in the Murchison meteorite |journal=Nature |date=1998 |volume=394 |page=236 |doi=10.1038/28306 |issue=6690|bibcode = 1998Natur.394..236P }}</ref> รายชื่อสารประกอบอินทรีย์ที่พบในอุกกาบาตได้ขยายไปถึง[[พอลีโอล]]ด้วยในปี พ.ศ. 2544<ref>{{cite journal |title=Carbonaceous meteorites as a source of sugar-related organic compounds for the early Earth |last=Cooper |first=George |last2=Kimmich |first2=Novelle |last3=Belisle |first3=Warren |last4=Sarinana |first4=Josh |last5=Brabham |first5=Katrina |last6=Garrel |first6=Laurence |journal=[[Nature (journal)|Nature]] |volume=414 |pages=879–883 |date=20 December 2001 |doi=10.1038/414879a |pmid=11780054 |issue=6866 |bibcode=2001Natur.414..879C |url=https://zenodo.org/record/1233202 }}</ref>
 
{|class="wikitable" border="1" align="right" style="margin-left:8px;"
บรรทัด 50:
ถึงแม้ว่าอุกกาบาตลูกนี้จะประกอบไปด้วยสารผสมของกระอะมิโนซ้ายมือและขวามือ กรดอะมิโนส่วนมากที่สิ่งมีชีวิตใช้นั้นมี[[ไครัลลิตี]]ฝั่งซ้ายมือ และน้ำตาลส่วนมากที่สิ่งมีชีวิตใช้มีไครัลลิตีฝั่งขวามือ กลุ่มของนักเคมีในประเทศสวีเดนสาธิตในปี พ.ศ. 2548 ว่า[[โฮโมไครัลลิตี]]นี้อาจถูกกระตุ้นหรือเร่งปฏิกิริยาโดยการกระทำของกรดอะมิโนซ้ายมืออย่าง[[โพรลีน]]<ref>{{cite journal |title=Plausible origins of homochirality in the amino acid catalyzed neogenesis of carbohydrates |last=Córdova |first=Armando |last2=Engqvist |first2=Magnus |last3=Ibrahem |first3=Ismail |last4=Casas |first4=Jesús |last5=Sundén |first5=Henrik |journal=[[Chem. Commun.]] |pages=2047–2049 |date=2005 |doi=10.1039/b500589b |pmid=15834501 |issue=15 }}</ref>
 
หลักฐานหลายชิ้นระบุว่าส่วนภายในของสะเก็ดของอุกกาบาตมูร์เมอร์ชิสันที่เก็บรักษาอย่างดีนั้นดึกดำบรรพ์ การศึกษาในปี พ.ศ. 2553 โดยใช้อุปกรณ์วิเคราะห์ความคมชัดสูงรวมถึง[[สเปกโทรสโกปี]] พบว่ามีสารประกอบเชิงโมเลกุลกว่า 14,000 ตัว รวมถึงพบกรดอะมิโน 70 ตัวในตัวอย่างของอุกกาบาต<ref>{{cite news |first=Doreen |last=Walton |title=Space rock contains organic molecular feast |date=15 February 2010 |url=http://news.bbc.co.uk/2/hi/science/nature/8516319.stm |work=[[BBC News]] |accessdate=2010-02-15 }}</ref><ref>{{cite journal |title=High molecular diversity of extraterrestrial organic matter in Murchison meteorite revealed 40 years after its fall |journal=[[PNAS]] |volume=107 |pages=2763–2768 |date= 16 February 2010 |first=Philippe|last=Schmitt-Kopplin |first2=Zelimir |last2=Gabelica |first3=Régis D. |last3=Gougeon |first4=Agnes |last4=Fekete |first5=Basem |last5=Kanawati |first6=Mourad |last6=Harir |first7=Istvan |last7=Gebefuegi |first8=Gerhard |last8=Eckel |first9=Norbert |last9=Hertkorn |url=http://www.pnas.org/content/early/2010/02/12/0912157107.full.pdf+html |format=PDF |doi=10.1073/pnas.0912157107 |pmid=20160129 |issue=7 |pmc=2840304 |bibcode=2010PNAS..107.2763S |accessdate=2010-02-16 }}</ref> ขอบเขตการวิเคราะห์ที่จำกัดโดย[[แมสสเปกโตรเมทรี]]ให้ข้อมูลว่าอาจมีสารประกอบเชิงโมเลกุลแปลกใหม่กว่า 50,000 ตัวหรือมากกว่า โดยทีมนักวิจัยยังประมาณจำนวนสารประกอบที่แตกต่างกันที่อาจพบในอุกกาบาตไว้นับล้านตัว<ref>{{cite news |first=John |last=Matson |title=Meteorite That Fell in 1969 Still Revealing Secrets of the Early Solar System |date=15 February 2010 |publisher=[[Scientific American]] |url=http://www.scientificamerican.com/article.cfm?id=murchison-meteorite |accessdate=2010-02-15 }}</ref>
 
=== นิวคลีโอเบส ===
{{ข้อมูลเพิ่มเติม|นิวคลีโอเบส}}
 
มีการค้นพบสารประกอบพิวรีนและไพริมิดีนที่วัดได้ในอุกกาบาตมูร์ชิสันเมอร์ชิสัน [[Isotope-ratio mass spectrometry|อัตราส่วนไอโซโทป]]คาร์บอนสำหรับ[[ยูราซิล]]และ[[แซนทีน]]ของ[[Δ13C|δ<sup>13</sup>C]] เท่ากับ +44.5[[ต่อพัน|‰]] และ +37.7[[ต่อพัน|‰]] ตามลำดับ แสดงถึงต้นกำเนิดนอกโลกของสารประกอบเหล่านี้ ตัวอย่างนี้สาธิตให้เห็นว่าสารประกอบอินทรีย์จำนวนมากอาจส่งมาจากเทหวัตถุระบบสุริยะแรกเริ่ม และอาจเป็นกุญแจสำคัญใน[[กำเนิดชีวิตจากสิ่งไร้ชีวิต|ต้นกำเนิดของชีวิต]]<ref>{{cite journal |title=Extraterrestrial nucleobases in the Murchison meteorite |journal=Earth and Planetary Science Letters |date=20 March 2008 |first=Zita |last=Martins |first2=Oliver |last2=Botta |first3=Marilyn L. |last3=Fogel |first4=Mark A. |last4=Sephton |first5=Daniel P. |last5=Glavin |first6=Jonathan S. |last6=Watson |first7=Jason P. |last7=Dworkin |first8=Alan W. |last8=Schwartz |first9=Pascale |last9=Ehrenfreund |volume=270 |issue=1–2 |pages=130–136 |url=http://astrobiology.gsfc.nasa.gov/analytical/PDF/Martinsetal2008.pdf |accessdate=2008-10-07 |doi=10.1016/j.epsl.2008.03.026 |bibcode=2008E&PSL.270..130M |arxiv=0806.2286 |archive-url=https://web.archive.org/web/20110810095031/http://astrobiology.gsfc.nasa.gov/analytical/PDF/Martinsetal2008.pdf |archive-date=10 August 2011 |url-status=dead}}</ref>
 
== ดูเพิ่ม ==