ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โรงเรียนบุญวัฒนา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Ratthatn (คุย | ส่วนร่วม)
ก้องแว่นแก้ว2004 (คุย | ส่วนร่วม)
พระอิสริยยศพระบรมวงศ์ศานุวงศ์ที่ระบุภายในประวัติของโรงเรียน
บรรทัด 10:
| code = 11300103
| establish_date = [[3 มกราคม]] [[พ.ศ. 2516]]
| founder = [[พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร]]
| type = [[โรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ]]
| group = [[สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน]]
บรรทัด 28:
 
== ประวัติ ==
[[ไฟล์:ในหลวงเสด็จมาโรงเรียนบุญวัฒนา.jpeg|thumbnail|left|'' '[[พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดช'''มหาราช บรมนาถบพิตร]] และ'''[[สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ''' พระบรมราชชนนีพันปีหลวง]] เสด็จในงานเปิดอาคารเรียนหลังที่ 1]]
เนื่องในวโรกาสโอกาสที่ [[พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช]] (ภายหลัง[[พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว]]ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯเกล้าโปรดกระหม่อมให้เฉลิมพระปรมาภิไธยว่า[[พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร]]) ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ให้มีพระราช'''พระราชพิธีสถาปนาเฉลิมพระนามาภิไธยสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอเจ้าฟ้าวชิราลงกรณ''' ดำรงพระราชอิสริยยศขึ้นเป็น [[สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร]] (ภายหลังเสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติเป็น[[พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว]])เมื่อวันที่ 28 ธันวาคม พ.ศ. 2515 เพื่อที่จะได้ทรงประกอบพระราชกรณียกิจให้ประเทศชาติมีความเจริญมั่นคงและร่มเย็นสืบต่อไป
 
ในวโรกาสโอกาสอันเป็นมหามงคลนี้ นายบุญธรรม – นางบุญพริ้ง ต.สุวรรณ เจ้าของบริษัทสำนักพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช จำกัด กรุงเทพฯ ซึ่งมีภูมิลำเนาเดิมอยู่ที่ อ.สีคิ้ว จ.นครราชสีมา ได้บริจาคเงินโดยเสด็จพระราชกุศล จำนวน 6,000,000 บาท (หกล้านบาทถ้วน) เพื่อสร้างตึกอาคารเรียนแบบ 424 พิเศษ 24 ห้องเรียน หอประชุม อาคารเรียนชั่วคราว ครุภัณฑ์ ส้วม และถังเก็บน้ำ พร้อมเปิดเรียนชั้น ม.ศ.1 และ ม.ศ.4 ในปีการศึกษา 2516 จำนวน 4 ห้องเรียนเพื่อน้อมเกล้าฯ ถวายสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร ประกอบกับในขณะนั้นกระทรวงศึกษาธิการมีความประสงค์ที่จะขยายการศึกษาโดยการจัดตั้งโรงเรียนมัธยมศึกษาเพิ่มขึ้นอีกแห่งหนึ่งในอำเภอเมืองนครราชสีมา เนื่องจากจำนวนนักเรียนที่ประสงค์จะเรียนต่อในระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและมัธยมศึกษาตอนปลายมีจำนวนมากขึ้นทุก ๆ ปี เกินกว่าที่โรงเรียนราชสีมาวิทยาลัย และโรงเรียนสุรนารีวิทยา ซึ่งเป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาประจำจังหวัดจะสามารถรับนักเรียนที่มาสมัครเข้าเรียนได้ทั้งหมด ส่วนที่เป็นสถานที่ก่อสร้างอาคารเรียน กระทรวงศึกษาธิการมอบให้สำนักงานศึกษาธิการ จ.นครราชสีมา ซึ่งมี นายจรัญ ปัทมดิลก ดำรงตำแหน่งศึกษาธิการ จ.นครราชสีมา อยู่ในขณะนั้น ได้ดำเนินการจัดหาที่ดินสำหรับสร้างโรงเรียนมัธยมศึกษาแห่งที่ 3 ในอำเภอเมืองนครราชสีมา สำนักงานกระทรวงศึกษาธิการ จ.นครราชสีมา สามารถจัดหาที่ดินในทำเลที่เหมาะสมได้พื้นที่ใน ต.หัวทะเล อ.เมือง ซึ่งเป็นสถานที่ในปัจจุบัน โดยมีผู้บริจาคโดยเสด็จพระราชกุศลดังนี้
 
# ร้อยโทรส มาศิริ บริจาคที่ดินให้เปล่าจำนวน 50 ไร่
บรรทัด 37:
ส่วนที่ดินอีก 2 ไร่ 3 งาน 20 ตารางวา ได้ขอเงินชดเชยจาก นายบุญธรรม – นางบุญพริ้ง ต.สุวรรณ จำนวน 13,000 บาท (หนึ่งหมื่นสามพันบาทถ้วน) เพื่อนำเงินไปบำเพ็ญกุศลอุทิศให้ พ่อ – แม่ ที่เคยครอบครองที่ดินมาก่อน (สมัยนั้นที่ดินหน้าโรงเรียนบุญวัฒนามีการจัดสรรขายไร่ละประมาณ 80,000 บาท) รวมที่ดินทั้งสิ้น 82 ไร่ 3 งาน 20 ตารางวา
[[ไฟล์:บุญวัฒนา.jpeg|thumbnail|บุญวัฒนา]]
[[พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร]] ทรงพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามโรงเรียนนี้ว่า “โรงเรียนบุญวัฒนา” เพื่อความเป็นศิริมงคลกับโรงเรียน ผู้บริจาคที่ดิน คุณบุญธรรม – คุณบุญพริ้ง ต.สุวรรณ เจ้าของบริษัทสำนักพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช จำกัด และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการร่วมเสด็จพระราชกุศลครั้งนี้ด้วย จังหวัดนครราชสีมา เป็นจังหวัดเดียวที่ได้รับพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้าฯ จาก[[พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช]] และ[[สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร]] (พระอิสริยยศในขณะนั้น) ที่ทรงบำเพ็ญพระราชกรณียกิจส่งเสริมการศึกษาและพระศาสนา ดังนี้
 
จังหวัดนครราชสีมา เป็นจังหวัดเดียวที่ได้รับพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้าฯ จากพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร ที่ทรงบำเพ็ญพระราชกรณียกิจส่งเสริมการศึกษาและพระศาสนา ดังนี้
# ตั้งโรงเรียนบุญวัฒนา อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา
# ตั้งวัดวชิราลงกรณวราราม (ธ) อำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา และยกให้เป็นพระอารามหลวง
 
# ตั้งโรงเรียนบุญวัฒนา
# ตั้งวัดวชิราลงกรณวราราม (ธ) ที่ อ.ปากช่อง และยกให้เป็นพระอารามหลวงพระราชกรณียกิจและพระมหากรุณาธิคุณในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และสมเด็จพระบรมรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร ที่ได้ทรงบำเพ็ญตามราชประเพณีในวโรกาสนี้ นับเป็นอนุสรณ์แห่งความจงรักภักดีของพสนิกรชาวไทย พุทธศาสนิกชนชาวนครราชสีมาและชาวกระทรวงศึกษาธิการสืบไป
[[ไฟล์:ศิลาฤกษ์.jpeg|thumbnail|ทรงพระราชทานชื่อโรงเรียนบุญวัฒนา]]
'''วันพุธที่ 3 มกราคม 2516 เวลา 12.30 น. [[สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร]]''' เสด็จพระราชดำเนินมาทรงวางศิลาฤกษ์ อาคารเรียนถาวร ซึ่งจะสร้างเป็นอาคารเรียน 4 ชั้น แบบ 424 พิเศษ งบประมาณการก่อสร้าง 4,816,264.49 บาท (สี่ล้านแปดแสนหนึ่งหมื่นหกพันสองร้อยหกสิบสี่บาทสี่สิบเก้าสตางค์)
นอกจากอาคารเรียนถาวรดังกล่าวแล้ว นายบุญธรรม และ นางบุญพริ้ง ต.สุวรรณ ยังได้สร้างอาคารเรียนชั่วคราว อาคารหอประชุม บ้านพักครู บ่อน้ำบาดาล พร้อมเครื่องสูบถังพักน้ำ โต๊ะเก้าอี้ครู 40 ชุด โต๊ะเก้าอี้นักเรียน 600 ชุด ห้องส้วม 2 หลัง ค่าชดเชยที่ดินและค่าจ้างปรับปรุงบริเวณโรงเรียน รวมเงินโดยเสด็จพระราชกุศล ในครั้งนี้ทุกรายการ จำนวน 6,000,000 บาท (หกล้านบาทถ้วน)
วันที่ 17 พฤษภาคม 2516 โรงเรียนบุญวัฒนาเปิดสอนเป็นวันแรก โดยใช้อาคารเรียนชั่วคราวเนื่องจากอยู่ระหว่างการก่อสร้างอาคารเรียนถาวร การจัดการเรียนการสอนดำเนินตามหลักสูตรมัธยมศึกษาสายสามัญ มีนักเรียน 233 คน ครู 15 คน ห้องเรียน 6 ห้องเรียน เป็นชั้น ม.ศ.1 จำนวน 2 ห้อง ชั้น ม.ศ.4 จำนวน 4 ห้อง และมีนายเทิดศักดิ์ รัตนมณี เป็นครูใหญ่
 
'''วันพุธที่ 30 ตุลาคม 2517 เวลา 13.30 น. [[พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช]] และ[[สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง|สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ]] พร้อมด้วย[[สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าสิรินธรเทพรัตนสุดา กิติวัฒนาดุลโสภาคย์]] และ[[สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี]]''' ได้เสด็จพระราชดำเนิน ถึงโรงเรียนบุญวัฒนา เมื่อรถยนต์พระที่นั่งเทียบแถวนักเรียนที่รอรับเสด็จ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ได้เบิกตัว นายสมาน แสงมติ รองอธิบดีกรมสามัญศึกษา นายสมุทร วรรณพงษ์ ศึกษาธิการ จ.จังหวัดนครราชสีมา และนายเทิดศักดิ์ รัตนมณี ครูใหญ่โรงเรียนบุญวัฒนา ซึ่งรอรับเสด็จอยู่เข้าเฝ้าฯ และเชิญเสด็จพระราชดำเนินขึ้นสู่พลับพลาที่ประทับพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ทรงจุดธูปเทียนบูชาพระรัตนตรัยพร้อมทั้งทรงศีล เสร็จแล้วรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการกราบบังคมทูลถวายรายงานประวัติโรงเรียนบุญวัฒนา จนได้เวลาอันเป็นปฐมฤกษ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการจึงได้กราบบังคมทูลเชิญเสด็จพระราชดำเนินขึ้นสู่อาคารเรียน เพื่อทรงเจิมแผ่นป้ายดวงฤกษ์แล้วจึงเสด็จไปยังห้องเพื่อทรงลงพระปรมาภิไธยในสมุดเยี่ยมของโรงเรียนบุญวัฒนา หลังจากนั้นนายบุญธรรม และนางบุญพริ้ง ต.สุวรรณ ได้เข้าเฝ้าฯ ต่อมา'''[[พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช]]''' มีพระราชปฏิสันถารกับครูใหญ่โรงเรียนบุญวัฒนา ว่า
 
{{คำพูด| "จำนวนนักเรียนในปีการศึกษาหน้าจะมีเท่าไหร่..."}}
 
ครูใหญ่โรงเรียนบุญวัฒนากราบบังคมทูลว่า “ขอเดชะฝ่าละอองธุลีพระบาทปกเกล้าปกกระหม่อมในปีการศึกษาหน้าจะมีนักเรียนประมาณ 1,000 คน ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ” [[พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร]] มีพระราชดำรัสว่า “การเป็นครูในปัจจุบันนี้มีความลำบากในการอบรมดูแลนักเรียน เพราะสังคมเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ครูต้องศึกษาและเรียนรู้ถึงวิธีการที่ถูกต้องและเหมาะสมในการอบรมดูแลนักเรียน ไม่ควรที่จะยินยอมตามที่นักเรียนเรียกร้องทุกครั้ง โดยมิได้คำนึงถึงเหตุผลและหลักการที่ถูกต้อง นอกจากนั้นขอให้พยายามและอดทนทำงานเพื่อเยาวชนของเรา การอุทิศตนทำงานในอาชีพครูนี้ได้กุศล ขออย่าได้ท้อถอย เพราะเหตุการณ์ในบ้านเมืองของเราขณะนี้เป็นอย่างไรก็รู้อยู่แล้ว ขอฝากไว้ให้ช่วยกันเพื่อประเทศชาติของเรา”
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มีพระราชดำรัสว่า “การเป็นครูในปัจจุบันนี้มีความลำบากในการอบรมดูแลนักเรียน เพราะสังคมเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ครูต้องศึกษาและเรียนรู้ถึงวิธีการที่ถูกต้องและเหมาะสมในการอบรมดูแลนักเรียน ไม่ควรที่จะยินยอมตามที่นักเรียนเรียกร้องทุกครั้ง โดยมิได้คำนึงถึงเหตุผลและหลักการที่ถูกต้อง นอกจากนั้นขอให้พยายามและอดทนทำงานเพื่อเยาวชนของเรา การอุทิศตนทำงานในอาชีพครูนี้ได้กุศล ขออย่าได้ท้อถอย เพราะเหตุการณ์ในบ้านเมืองของเราขณะนี้เป็นอย่างไรก็รู้อยู่แล้ว ขอฝากไว้ให้ช่วยกันเพื่อประเทศชาติของเรา”
 
'''การเสด็จมาในครั้งนี้พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ได้พระราชทานเงินทุนเพื่อการศึกษาแก่โรงเรียนบุญวัฒนา จำนวน 54,500.00 บาท''' (ห้าหมื่นสี่พันห้าร้อยบาท) พระมหากรุณาธิคุณของ'''[[พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช]]''' ยังความปิติโสมนัสยิ่งแก่โรงเรียนบุญวัฒนา และชาวเมืองนครราชสีมาทั้งปวงที่มาเฝ้ารอรับเสด็จในโอกาสนี้ '''(พระอิสริยยศในขณะนั้น)'''
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ยังความปิติโสมนัสยิ่งแก่โรงเรียนบุญวัฒนา และชาวเมืองนครราชสีมาทั้งปวงที่มาเฝ้ารอรับเสด็จในโอกาสนี้
 
== หลักสูตรที่เปิดสอน (ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นและปลาย) ==