ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แวร์มัคท์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Matable (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 12:
|current_form = <!-- Date armed forces reorganized into current structure -->
|disbanded = 20 กันยายน ค.ศ. 1945
|headquarters = วันส์ดอร์ฟวึนส์ดอร์ฟ (Wünsdorf)
|garrison = [[ซอสเซิน]]
|branches =
บรรทัด 19:
{{nowrap|[[ลุฟท์วัฟเฟอ|ลุฟท์วัฟเฟอ (ทัพอากาศ)]]}}
|flying_hours =
|motto = ''[[ก็อทมิทอุนส์]]''
<!--Leadership-->
|commander-in-chief = [[อดอล์ฟ ฮิตเลอร์]]
เส้น 53 ⟶ 54:
}}
 
'''''แวร์มัคท์''''' ({{lang-de|Wehrmacht}})({{IPA-de|ˈveːɐ̯maxt|-|De-Wehrmacht-pronunciation.ogg}}, {{literal translation|กองกำลังป้องกัน}}) เป็นชื่อเรียกกองทัพโดยรวมทั้งหมดของ[[นาซีเยอรมนี]] ดำรงอยู่ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1935 ถึง ค.ศ. 1945 ประกอบด้วย[[กองทัพบกเยอรมัน (แวร์มัคท์)|แฮร์]] (กองทัพบก), [[ครีคส์มารีเนอ]] (กองทัพเรือ) และ[[ลุฟท์วัฟเฟอ]] (กองทัพอากาศ) การตั้งชื่อเป็น"แวร์มัคท์"นั้นถูกตั้งขึ้นมาแทนทดแทนกองกำลังป้องกันประเทศที่ชื่อกองทัพก่อนหน้าคือเรียกว่า ''[[ไรชส์แวร์]]'' และการก่อตั้งแวร์มัคท์ซึ่งเป็นที่ประจักษ์ของความพยายามของระบอบนาซีส่วนหนึ่งใน[[การฟื้นแสนยานุภาพของเยอรมนี|การแผนงานฟื้นฟูแสนยานุภาพของกองทัพขึ้นมาใหม่ในเยอรมนี]]ในระดับที่เกินกว่าข้อบังคับของ[[สนธิสัญญาแวร์ซาย]]จะยอมรับได้{{sfn|Taylor|1995|pp=90–119}}
 
ภายหลังจาก[[การเถลิงอำนาจของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์|นาซีเถลิงอำนาจ]]ในปี ค.ศ. 1933 หนึ่งในความเคลื่อนไหวที่โจ่งแจ้งและไม่เกรงกลัวของ[[อดอล์ฟ ฮิตเลอร์]]คือการก่อตั้งแวร์มัคท์ กองทัพที่มีความทันสมัยและมีประสิทธิภาพอย่างมากในการรุกราน เพื่อบรรลุเป้าหมายระยะยาวของระบอบนาซีในการฟื้นฟูดินแดนที่เสียไปรวมทั้งการได้รับดินแดนใหม่และครอบครองประเทศเพื่อนบ้านที่อยู่ใกล้เคียง ด้วยความต้องการสิ่งนี้จึงได้มีการฟื้นฟูการเกณฑ์ทหารขึ้นมาใหม่ และการลงทุนขนาดใหญ่ และค่าใช้จ่ายด้านการป้องกันในโรงงานอุตสาหกรรมการผลิตอาวุธ{{sfn|Kitchen|1994|pp=39–65}}
 
แวร์มัคท์ได้กลายเป็นหัวใจสำคัญของอำนาจทางการเมือง-ทางทหารของเยอรมนี ในช่วงต้นของ[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] แวร์มัคท์ได้คิดค้นกลยุทธ์กองกำลังรวมผสม(การสนับสนุนทางอากาศอย่างใกล้ชิด รถถัง และทหารราบ) เพื่อมีประสิทธิภาพการทำลายล้างในสิ่งที่ได้เป็นที่รู้จักกันเป็นอย่างดีคือ ''[[บลิทซ์ครีค]]'' (สงครามสายฟ้าแลบ) ที่การทัพใน[[ยุทธการที่ฝรั่งเศส|ฝรั่งเศส(1940)]] [[ปฏิบัติการบาร์บาร็อสซา|สหภาพโซเวียต(1941)]] และ[[การทัพแอฟริกาเหนือ|แอฟริกาเหนือ(1941/42)]] ได้ถือว่าเป็นการกระทำที่อาจหาญ{{sfn|Van Creveld|1982|p=3}} ในเวลาเดียวกันการรุกแผ่ขยายอย่างกว้างใหญ่ไพศาลทำให้ขีดความสามารถของแวร์มัคท์ได้ถึงจุดแตกหักลง ซึ่งถึงที่สุดแล้วในความปราชัยครั้งใหญ่เป็นครั้งแรกใน[[ยุทธการที่มอสโก|ยุทธการที่มอสโก (1941)]] ในปลายปี ค.ศ. 1942 เยอรมนีได้สูญเสียการรุกในทุกเขตสงคราม ยุทธศิลป์นั้นไม่เท่าเทียบกับความสามารถในการทำสงครามของประเทศที่ร่วมมือกันของฝ่ายสัมพันธมิตร จึงทำให้กลายเป็นจุดอ่อนของแวร์มัคท์ในหลักสูตรทางด้านกลยุทธ์ และทางด้านโลจิสติกส์ที่ปรากฏให้เห็นอย่างชัดเจน{{sfn|Müller|2016|pp=58–59}}
 
การให้ความร่วมมืออย่างใกล้ชิดกับ[[ชุทซ์ชตัฟเฟิล|หน่วยเอ็สเอ็ส]]และ[[ไอน์ซัทซ์กรุพเพิน]] กองทัพเยอรมันได้ก่อ[[อาชญกรรมสงครามของแวร์มัคท์|อาชญกรรมสงครามและการกระทำอย่างโหดร้าย]]เอาไว้หลายครั้ง อย่างไรก็ตามในภายหลังได้มีการออกมากล่าวปฏิเสธและส่งเสริม[[เรื่องปรัมปรา]]ถึง[[แวร์มัคท์บริสุทธิ์|ความบริสุทธิ์ของแวร์มัคท์]]{{sfn|Hartmann|2013|pp=85–108}} อาชญกรรมสงครามส่วนใหญ่เกิดขึ้นในสหภาพโซเวียต โปแลนด์ ยูโกสลาเวีย กรีซ และอิตาลี ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของสงครามการทำลายล้างต่อสหภาพโซเวียต [[ฮอโลคอสต์]] และการสงครามความมั่นคงของนาซี
เส้น 71 ⟶ 72:
{{familytree/end}}</center>
=== ผู้บัญชาการ ===
[[ไฟล์:Bundesarchiv Bild 183-W0402-504, Generaloberst Werner von Blomberg.jpg (cropped).jpg|150px|thumb|[[แวร์เนอร์ ฟอนฟ็อน บลอมแบร์คบล็อมแบร์ค]]]]
[[ไฟล์:Bundesarchiv Bild 183-H30220, Wilhelm Keitel.jpg|150px|thumb|[[วิลเฮล์ม ไคเทิล]]]]
[[ไฟล์:Bundesarchiv Bild 146-1976-127-06A, Karl Dönitz.jpg|150px|thumb|[[คาร์ล เดอนิทซ์]]]]
[[ไฟล์:Bundesarchiv Bild 102-15607, Potsdam, Göring.jpg|150px|thumb|[[แฮร์มันน์แฮร์มัน เกอริง]]]]
* '''[[กองบัญชาการใหญ่แห่งแวร์มัคท์]] (''Oberkommando der Wehrmacht'')'''
** ผู้บัญชาการสูงสุดแห่งแวร์มัคท์ (''Oberste befehlshaber der Wehrmacht'') – ตำแหน่งที่มีอำนาจทางทหารสูงสุดระหว่างปี 1935–1945
เส้น 80 ⟶ 81:
*** จอมพลเรือ [[คาร์ล เดอนิทซ์]] (ปี 1945)
** ผู้บัญชาการเหนือเหล่าทัพแวร์มัคท์ (''Oberbefehl über die gesamte Wehrmacht'') – ตำแหน่งที่มีอำนาจทางทหารสูงสุดระหว่างปี 1933–1935
*** จอมพล [[เพาล์ ฟอนฟ็อน ฮินเดนบูร์กนเดินบวร์ค]] (ปี 1933–1934) ควบตำแหน่งประธานาธิบดี
*** ฟือเรอร์และนายกรัฐมนตรี อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ (ปี 1934–1935)
*** จอมพล [[แวร์เนอร์ ฟอนฟ็อน บลอมแบร์คบล็อมแบร์ค]] (ปี 1935–1938){{sfn|Megargee|2000|pp=18, 42}}
** รองผู้บัญชาการทหารเหนือเหล่าทัพแวร์มัคท์
*** พลเอกอาวุโส แวร์เนอร์ ฟอนฟ็อน บลอมแบร์คบล็อมแบร์ค (ปี 1933–1935)
** หัวหน้ากองบัญชาการใหญ่แห่งแวร์มัคท์ (''Chef des Oberkommandos der Wehrmacht'') – เทียบเท่ารัฐมนตรีกลาโหม
*** จอมพล [[วิลเฮล์ม ไคเทิล]] (ปี 1938–1945)
เส้น 91 ⟶ 92:
* '''[[กองบัญชาการใหญ่กองทัพบกเยอรมัน]] (''Oberkommando des Heeres'')'''
** ผู้บัญชาการใหญ่กองทัพบก (''Oberbefehlshaber des Heeres'')
*** พลเอกอาวุโส [[แวร์เนอร์ ฟอนฟ็อน ฟริทช์]] (ปี 1935–1938){{sfn|Megargee|2000|pp=20, 42}}
*** จอมพล [[วัลเทอร์ ฟอนฟ็อน เบราชิทช์เบราคิทช์]] (ปี 1938–1941){{sfn|Megargee|2000|pp=42}}
*** ฟือเรอร์และนายกรัฐมนตรี อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ (ปี 1941–1945)
*** จอมพล [[แฟร์ดีนันด์ เชอร์เนอร์]] (ปี 1945)
เส้น 98 ⟶ 99:
*** พลเอก [[ลุดวิจ เบค]] (ปี 1935–1938)
*** พลเอก [[ฟรันซ์ ฮัลเดอร์]] (ปี 1938–1942)
*** พลเอก [[Kurt Zeitzler|คูร์ทควร์ท ไซทซ์เลอร์]] (ปี 1942–1944)
*** พลเอกอาวุโส [[ไฮนซ์ กูเดเรียน]] (ปี 1944–1945)
*** พลเอก [[ฮันส์ เคร็บส์เครพส์ (นายพลเอกแวร์มัคท์)|ฮันส์ เคร็บส์เครพส์]]
* '''[[กองบัญชาการใหญ่กองทัพเรือเยอรมัน]] (''Oberkommando der Marine'')'''
** ผู้บัญชาการใหญ่กองทัพเรือ (''Oberbefehlshaber der Marine'')
เส้น 109 ⟶ 110:
** ผู้บัญชาการใหญ่กองทัพอากาศ (''Oberbefehlshaber der Luftwaffe'')
*** [[จอมพลไรช์]] [[แฮร์มันน์ เกอริง]] (ปี 1935–1945)
*** จอมพลอากาศ [[โรแบร์ท ริทเทอร์ ฟอนฟ็อน ไกรม์]] (ปี 1945)
 
== ดูเพิ่ม ==
* [[กองทัพปรัสเซีย]]
* [[ดอยท์บุนเวร์]]
* [[ไคเซอร์ลิชเชอร์แวร์]]
* [[ไรชส์แวร์]]
* [[กองทัพประชาชนแห่งชาติ]]