ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การตักบาตร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Dolkungbighead (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 12:
# เนื้อสัตว์ที่ต้องห้ามตามหลักศาสนาพุทธ เรียกว่า มังสัง 10 อย่าง ได้แก่ มนุษย์ ช้าง ม้า สุนัข งู ราชสีห์ เสือโคร่ง เสือเหลือง หมี และเสือดาว
# เนื้อสัตว์ที่ได้มาจากการที่บุคคลคนนั้นตั้งใจที่จะฆ่าสัตว์โดยมีจุดประสงค์หลักคือเพื่อที่จะเอาเนื้อมาถวายพระภิกษุโดยเฉพาะ และพระภิกษุรู้ว่าเนื้อนั้นมาจากการฆ่าเพื่อที่จะนำมาถวายตนโดยเฉพาะข้อนี้เป็นพุทธบัญญัติ หลังจากพระเทวทัต เสนอให้พระพุทธเจ้าห้ามไม่ให้ภิกษุฉันเนื้อตลอดชีวิต แต่พระพุทธเจ้าไม่ทรงอนุญาต ให้เป็นไปตามศรัทธาของแต่ละคน
 
และไม่ห้ามพระภิกษุฉันเนื้อในกรณี 3 ประการ คือ ไม่รู้ว่าเขาฆ่า, ไม่เห็นเขาฆ่า, ไม่ได้ยินว่าเขาฆ่าเพื่อเรา รักพี่ketม.5
# ผลธัญพืชที่มีเมล็ด บุคคลที่ตักบาตรไม่สามารถถวายผลธัญพืชที่มีเมล็ดได้ เพราะถือว่าเมล็ดนั้นยังสามารถที่จะให้กำเนิดชีวิตได้อยู่ ถ้าจะถวายต้องเอาเมล็ดออกก่อน ข้อนี้มาจากพุทธบัญญัติที่ห้ามไม่ให้พระภิกษุทำครัว เพราะการทำครัว จะต้องมีการฆ่า การพรากของสีเขียวหรือพืชคาม ภูตคาม "ภูตคาม" หมายถึง ต้นไม้ ใบหญ้า พีชที่มีรากติดอยู่ที่พื้นดิน ภิกษุตัดหรือทำให้หลุดจากลำต้นหรือทำให้พ้นจากพื้นดิน เป็นอาบัติปาจิตตีย์ "พีชคาม" หมายถึง ถึ'พีชที่เขาตัดมาจากต้น แต่ยังงอกได้ หรือเมล็ดพีชที่งอกได้ภิกษุทำลายต้องอาบัติทุกกฎ
# วัตถุดิบในการทำอาหาร เช่น ข้าวสาร, แป้ง ผัก ปลา เนื้อสัตว์ เพราะตามหลักของศาสนานั้นไม่อนุญาตที่จะให้พระภิกษุประกอบอาหาร (ตามข้อ4){{ต้องการอ้างอิงเฉพาะส่วน}}
 
<gallery>
ไฟล์:Almsbowl2.jpg‎jpg|บาตร
</gallery>
 
เส้น 30 ⟶ 31:
 
<gallery>
ไฟล์:Watkung 01.jpg‎jpg|ชาวพุทธผู้ศรัทธานิยมถอดรองเท้าและนั่งกับพื้นเวลาตักบาตรเพื่อเป็นการแสดงความเคารพในทาน
ไฟล์:Making merit Buddhist holy day in Vientiane.jpg|โดยทั่วไปในวันพระนั้น พระภิกษุจะไม่ออกรับบิณฑบาต โดยพุทธศาสนิกชนจะไปตักบาตรที่วัดแทน
</gallery>