ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กล้วย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
แก้คำผิด
ย้อนการแก้ไขของ 14.207.210.146 (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย Nullzero
ป้ายระบุ: ย้อนรวดเดียว
บรรทัด 4:
| image_width = 240px
| image_caption = ต้นกล้วย
| species =''[[MusanMusa acuminata]]'' <br/>''[[Musa balbisiana]]''
| hybrid = ''MusanMusa × paradisiaca''
| group = ดู[[พันธุ์กล้วย]]
| origin = [[เอเชียตะวันออกเฉียงใต้]], [[เอเชียเหนือใต้]]
|Kingdom=Plantae}}
'''กล้วย''' เป็นพรรณไม้ล้มลุกใน[[สกุล (ชีววิทยา)|สกุล]] ''MusanMusa'' มีหลายชนิดในสกุล บางชนิดก็ออกหน่อแต่ว่าบางชนิดก็ไม่ออกหน่อ ใบแบนยาวใหญ่ ก้านใบตอนล่างเป็นกาบยาวหุ้มห่อซ้อนกันเป็นลำต้น ออกดอกที่ปลายลำต้นเป็น ''ปลี'' และมักยาวเป็นงวง มีลูกเป็นหวี ๆ รวมเรียกว่า ''เครือ'' พืชบางชนิดมีลำต้นคล้าย[[ปาล์ม]] ออกใบเรียงกันเป็นแถวทำนองพัดคลี่ คล้ายใบกล้วย เช่น [[กล้วยพัด]] (''Ravenala madagascariensis'') ทว่าความจริงแล้วเป็นพืชในสกุลอื่น ที่มิใช่ทั้งปาล์มและกล้วย
หี
 
บรรทัด 26:
 
== อนุกรมวิธาน ==
สกุล ''[[สกุลกล้วย|Musa]]<nowiki/>n'' จัดอยู่ในวงศ์ [[Musaceae]] ตามระบบ [[APG III system|APG III]] กำหนดให้ Musaceae อยู่ในอันดับ [[Zingiberales]] เป็นส่วนหนึ่งในเครือบรรพบุรุษ [[commelinid]] ของ[[พืชใบเลี้ยงเดี่ยว]]
 
บางแหล่งอ้างว่าชื่อ ''MusanMusa'' ได้รับการตั้งชื่อตามแอนโตนิอุส มูซา (Antonius Musa) นักพฤกษศาสตร์และแพทย์ประจำประองค์ของ[[จักรพรรดิออกัสตัส]]<ref name=bailey>Liberty Hyde Bailey, ''The Standard Cyclopedia of Horticulture''. 1916. [http://books.google.com/books?id=uZMDAAAAMAAJ&pg=PA2076 pp. 2076–9]</ref> แหล่งอื่นกล่าวว่า[[คาโรลัส ลินเนียส]]ผู้ตั้งชื่อสกุลในปี ค.ศ. 1750 ได้ดัดแปลงมาจากคำว่า ''[[wiktionary:موز|mauz]]'' ซึ่งแปลว่ากล้วยใน[[ภาษาอาหรับ]] คำว่า ''banana'' ในภาษาอังกฤษมีรากมากจาก[[ภาษาโวลอฟ]]คำว่า ''[[wiktionary:banaana|banaana]]''<ref>{{cite web |url=http://www.etymonline.com/index.php?term=banana |title=Online Etymology Dictionary|accessdate=Aug 5, 2010}}</ref> มีพืช 70 ชนิดในสุกล ''MusanMusa'' ที่ได้รับการบันทึกใน World Checklist of Selected Plant Families (รายการตรวจสอบวงศ์พืชทั่วโลก) เมื่อเดือนมกราคม ค.ศ. 2013<ref name="WCSP_Musa">Search for "Musa", {{Citation |title=World Checklist of Selected Plant Families |publisher=[[Royal Botanic Gardens, Kew]] |url=http://apps.kew.org/wcsp/ |accessdate=2013-01-06 }}</ref> มีหลายชนิดที่ผลรับประทานได้ ขณะที่บางชนิดปลูกไว้เป็นไม้ประดับ<ref name=bailey/>
 
การจัดจำแจกกล้วยเป็นปัญหามาช้านานสำหรับนักอนุกรมวิธาน เดิมลินเนียสจำแนกกล้วยออกเป็นสองชนิดบนพื้นฐานของการนำไปใช้เป็นอาหารคือ ''Musa sapientum'' สำหรับกล้วยและ ''Musa paradisiaca'' สำหรับ[[กล้าย]] ภายหลังชื่ออีกหลายชนิดก็ถูกเพิ่มเติมเข้าไป อย่างไรก็ตาม วิธีการนี้ได้พิสูจน์ว่ามันไม่ดีพอที่จะจัดการจำนวนพันธุ์ปลูกซึ่งมีจำนวนมากใน[[เอเชียตะวันออกเฉียงใต้]]ซึ่งเป็นศูนย์กลางความหลากหลายของสกุล หลายพันธุ์ปลูกที่ได้รับการตั้งชื่อได้ถูกพิสูจน์ว่าเป็นเพียง[[ชื่อพ้อง]]<ref name="a">{{cite book|author1=International Network for Improvement of Banana and Plantain. Asia and the Pacific Office|author2=Ramón V. Valmayor|title=Banana cultivar names and synonyms in Southeast Asia|url=http://books.google.com/books?id=uwEcLfDElAMC|accessdate=October 2, 2011|publisher=Bioversity International|isbn=978-971-91751-2-4}}</ref>
บรรทัด 58:
การจำแนกกล้วยตามวิธีการที่นำมาบริโภคสามารถแบ่งกล้วยออกเป็น 2 กลุ่มคือ กล้วยกินสด เป็นกล้วยที่เมื่อสุกสามารถนำมารับประทานได้ทันที โดยไม่ต้องนำมาทำให้สุกด้วยความร้อน เพราะเมื่อสุก เนื้อจะนิ่ม มีรสหวาน เช่น กล้วยไข่ กล้วยหอมทอง กล้วยหอมเขียว และกล้วยที่ใช้ประกอบอาหาร เป็นกล้วยที่เมื่อดิบมีแป้งมาก เนื้อค่อนข้างแข็ง เมื่อสุกยังมีส่วนของแป้งอยู่มากกว่ากล้วยกินสดมาก เนื้อจึงไม่ค่อยนิ่ม รสไม่หวาน ต้องนำมาต้ม เผา ปิ้ง เชื่อม จึงจะทำให้อร่อย รสชาติดีขึ้น เช่น กล้วยกล้าย กล้วยหักมุก กล้วยเล็บช้างกุด
 
ในพื้นที่ เช่น ทวีปอเมริกาเหนือและทวีปยุโรป ผลไม้สกุล ''MusanMusa'' ที่วางจำหน่ายได้แบ่งเป็น "กล้วย" และ "กล้าย" บนพื้นฐานของการนำไปใช้เป็นอาหาร ดังนั้น ผู้ผลิตและชีกีตา (Chiquita) ซึ่งเป็นผู้จัดจำหน่ายได้ผลิตวัสดุประชาสัมพันธ์สำหรับตลาดอเมริกาที่บอกว่า "กล้ายไม่ใช่กล้วย" ความแตกต่างนั้นคือกล้ายมี[[แป้ง (อาหาร)|แป้ง]]มากกว่าและหวานน้อยกว่า นิยมทานสุกกว่ากว่าทานดิบ มีเปลือกหนาสีเขียว เหลือง หรือดำ ซึ่งสามารถใช้บอกสถานะของความสุกงอมได้<ref name=Chiquita>{{cite web |title=Our plantains: What is a plantain? |url=http://www.chiquitabananas.com/Banana-Information/type-plantains-bananas.aspx |publisher=Chiquita |accessdate=February 2, 2013 |deadurl=no |archiveurl=https://web.archive.org/web/20130115020114/http://chiquitabananas.com/Banana-Information/type-plantains-bananas.aspx |archivedate=January 15, 2013 }}</ref> ลินเนียสได้สร้างความแตกต่างระหว่างกล้วยและกล้ายดังกล่าวขึ้นเมื่อแรกตั้งชื่อ "สปีชีส์" ทั้งสองของ ''MusanMusa''{{sfn|Valmayor|Jamaluddin|Silayoi|Kusumo|2000|p=2}} สมาชิกของพันธุ์กล้วย "[[พันธุ์กล้วย|กลุ่มย่อยกล้าย]]" ที่เป็นอาหารที่สำคัญมากในแอฟริกาตะวันตกและละตินอเมริกามีลักษณะยาวแหลม ซึ่งมันได้รับการจำแนกว่าเป็นกล้ายแท้โดยพลอตซ์และคณะ (Ploetz et al.) ต่างจากกล้วยที่ใช้ประกอบอาหารพันธุ์อื่น{{sfn|Ploetz|Kepler|Daniells|Nelson|2007|pp=18–19}} กล้ายที่สูงแอฟริกาตะวันออก (East African Highland banana) ซึ่งเป็นกล้วยที่ใช้ประกอบอาหารในแอฟริกาตะวันออกนั้น จัดอยู่ในกลุ่มอื่น{{sfn|Ploetz|Kepler|Daniells|Nelson|2007|p=12}} ดังนั้น จึงไม่มีคุณสมบัติเป็นกล้ายแท้ตามคำนิยามนี้
 
แนวทางหนึ่งที่จะแบ่งกล้วยออกเป็นกล้วยกินสดและกล้วยที่ใช้ประกอบอาหาร ซึ่งกล้ายเป็นกลุ่มย่อยหนึ่งของกล้วยที่ใช้ประกอบอาหาร{{sfn|Office of the Gene Technology Regulator|2008|p=1}} คือ พันธุ์ปลูก triploid กำเนิดมาจาก ''M.&nbsp;acuminata'' เพียงลำพังจะเป็นกล้วยกินสด ในขณะที่ พันธุ์ปลูก triploid ที่เป็นลูกผสมระหว่าง ''M.&nbsp;acuminata'' และ ''M.&nbsp;balbinosa'' (โดยเฉพาะกลุ่มย่อยกล้ายเป็นกลุ่มย่อยของ[[พันธุ์กล้วย#กลุ่ม AAB|กลุ่ม AAB]]) เป็น "กล้าย" (ในที่นี้หมายถึงกล้วยที่ใช้ประกอบอาหาร)
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/กล้วย"