ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หน่วยบัญชาการนาวิกโยธิน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{กล่องข้อมูล หน่วยทหาร
|unit_name = หน่วยบัญชาการนาวิกโยธิน<br>Royal Thai Marine Corps
|image = [[ไฟล์:Emblem of the Royal Thai Marines.svg|300200px]]
|caption =เครื่องหมายราชการของนาวิกโยธินไทย
|founded = {{วันเกิด-อายุ|2498|7|30}}
บรรทัด 41:
}}
 
'''หน่วยบัญชาการนาวิกโยธิน''' (คำย่อ: '''นย.''') ({{lang-en|''Royal Thai Marine Corps''}}) คือหน่วยงานที่ขึ้นตรงต่อ[[กองทัพเรือไทย|กองทัพเรือ]] มีหน้าที่รับผิดชอบในการบุกยึดพื้นที่ศัตรู ยกพลขึ้นบกและยึดพื้นที่สถาปนาหัวหาด เปรียบเสมือนหน่วยทหารราบของ[[กองทัพเรือ]] ทหารนาวิกโยธินได้รับการฝึกพิเศษเพื่อการรบบุกยึดหัวหาดโดยการยกพลขึ้นบกจากเรือในทะเลขึ้นสู่ฝั่ง ทำให้นาวิกโยธินเป็นหน่วยรบแรกๆแรก ๆ ที่เข้าสู่สนามรบแนวหน้าซึ่งจะมีอัตราการเสียชีวิตสูงอยู่เสมอ ทหารนาวิกโยธินขึ้นชื่อว่าเป็นหน่วยรบที่มีระเบียบวินัยและประสิทธิภาพในการรบสูงเมื่อเทียบกับทหารเหล่าปกติ
 
== ประวัติ ==
 
=== ทหารมะรีน ประเทศสยาม พ.ศ. 2367 ===
กิจการทหารนาวิกโยธินในประเทศไทยนั้นมีความเป็นมาอย่างยาวนานนับตั้งแต่สมัยประเทศไทยยังเป็นชื่อประเทศ[[สยาม]] ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2367 ในสมัย[[พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว]] รัชกาลที่ 3 โดยในยุคนั้นเรียกทหารนาวิกโยธินว่า '''"ทหารมะรีน"''' ซึ่งเป็นการเรียกทับศัพท์มาจากคำว่า '''"Marines"''' ที่แปลว่านาวิกโยธินใน[[ภาษาอังกฤษ]] กิจการทหารมะรีนในยุค[[สยาม]]ไม่มั่นคงมากนัก เนื่องจากมีการก่อตั้งและยุบไปหลายครั้ง
 
กิจการทหารนาวิกโยธินในประเทศไทยนั้นมีความเป็นมาอย่างยาวนานนับตั้งแต่สมัยประเทศไทยยังเป็นชื่อประเทศ[[สยาม]] ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2367 ในสมัย[[พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว]] รัชกาลที่ 3 โดยในยุคนั้นเรียกทหารนาวิกโยธินว่า '''"ทหารมะรีน"''' ซึ่งเป็นการเรียกทับศัพท์มาจากคำว่า '''"Marines"''' ที่แปลว่านาวิกโยธินใน[[ภาษาอังกฤษ]] กิจการทหารมะรีนในยุค[[สยาม]]ไม่มั่นคงมากนัก เนื่องจากมีการก่อตั้งและยุบไปหลายครั้ง
 
=== สงครามปราบฮ่อ พ.ศ. 2417 ===
 
ผลงานที่โดดเด่นที่สุดของทหารมะรีนในยุคประเทศ[[สยาม]]คือ[[สงครามปราบฮ่อ]] ในช่วงปี พ.ศ. 2417 ยุคของ[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] รัชกาลที่ 5 กลุ่มกบฏจีนไท้ผิง (ฮ่อ) ที่ต่อต้านราชวงศ์แมนจูในประเทศจีนได้ทำการก่อกบฏและแตกพ่าย บางส่วนหลบหนีลงมาในตังเกี๋ย ทางตังเกี๋ยได้ปราบปรามกลุ่มฮ่อ ขับไล่ฮ่อทำให้ต้องล่อถอยลงใต้มาเรื่อยๆจนกระทั่งเกิดทำการตีหัวเมืองต่างๆของ[[สยาม]] นับตั้งแต่สมัยของ[[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] รัชกาลที่ 4
การเข้าตีหัวเมืองภาคอีสานในปี พ.ศ. 2417 ของพวกฮ่อส่งผลให้[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] รัชกาลที่ 5 ทรงมีพระบรมราชโองการให้ทำการปราบปรามฮ่อ โดยทางราชการได้ส่งทหารมะรีนจำนวน 25 นาย ประกอบด้วย นายร้อยตรี 1 นาย พลทหาร 24 นาย พร้อมด้วยปืนกล[[ปืนแก็ตลิง]] 2 กระบอก ร่วมไปกับกองทัพที่ไปปราบปรามพวกฮ่อทางภาคเหนือ โดยมี เจ้าพระยาสุรศักดิ์มนตรี (เจิม แสงชูโต) เป็นแม่ทัพ
 
=== ราชนาวิกโยธิน ประเทศไทย พ.ศ. 2498 ===
 
กระทั่งเมื่อวันที่ 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2498 กองทัพเรือได้ดำเนินการสถาปนากรมนาวิกโยธินขึ้นอีกครั้ง ในสมัยที่[[จอมพล ป. พิบูลสงคราม]] เป็นนายกรัฐมนตรี โดยใช้ตึกซึ่งเป็นที่ทำงานของกองกิจการพิเศษ ภายใต้คำแนะนำของกองทัพอเมริกันถึงความจำเป็นที่ต้องมีนาวิกโยธิน ที่ฐานทัพเรือสัตหีบ จังหวัดชลบุรี เป็นที่ตั้ง และได้สืบต่อกิจการนาวิกโยธินอย่างจริงจังต่อไป ซึ่งทหารนาวิกโยธินได้ถือเอาวันที่ 30 กรกฎาคม ของทุกปีเป็นวันสถาปนาหน่วยสืบมา ต่อมาเมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2532 ได้มีการปรับปรุงโครงสร้างการจัดหน่วยราชการของกองทัพเรือ เป็นผลให้ "กรมนาวิกโยธิน" แปรสภาพเป็น "หน่วยบัญชาการนาวิกโยธิน"
 
ทหารนาวิกโยธิน ได้ถือเอาวันที่ 28 มิถุนายน ของทุกปีเป็น "วันทหารนาวิกโยธิน" โดยกำหนดให้เป็น วันแห่งประวัติศาสตร์ของทหารนาวิกโยธิน ซึ่งได้รับพระมหากรุณาธิคุณจาก [[พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช]] โปรดเกล้าโปรดกระหม่อม พระราชทานเพลงพระราชนิพนธ์ "มาร์ชราชนาวิกโยธิน" เป็นเพลงประจำหน่วย ทหารนาวิกโยธินเมื่อ 28 มิถุนายน 2502 และต่อมาคณะนายทหารนาวิกโยธินก็ได้ร่วมกัน ประพันธ์คำร้องขึ้น เพื่อสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณ หน่วยบัญชาการนาวิกโยธิน ได้ร่วมกันจัดกิจกรรม ในการบำเพ็ญสาธารณประโยชน์ต่างๆต่าง ๆ เนื่องในวันทหารนาวิกโยธิน สืบต่อไป
 
== ภารกิจ ==
โดยทั่วไปทหารนาวิกโยธินจะมีหน้าที่หลักในการยกพลขึ้นบก เพื่อยึดหัวหาดหรือการสถาปนากองกำลังบนบก เป็นหน่วยแรกและจะเผชิญกับการต่อต้านของฝ่ายตรงข้ามที่ป้องกันชายหาด ทหารนาวิกโยธินจึงมีการสูญเสียกำลังพลสูง เมื่อสถาปนากองกำลังได้แล้ว
ทหารบกจะเคลื่อนพลขึ้น และการรบหลักบนบกจะเป็นหน้าที่ของทหารบก
ในปัจจุบันนาวิกโยธินได้ถูกนำมาใช้เป็นกำลังรบหลักบนบกซึ่งมีขีดความสามารถเท่ากับทหารราบของกองทัพบกเลยก็ว่าได้
นาวิกโยธินสามารถร้องขอการสนับสนุนการโจมตีจากทะเลได้เช่น การระดมยิงจากเรือหรือจรวดไปยังเป้าหมายที่ทำการแจ้งไป การใช้กำลังทางอากาศ ใช้อากาศยานสนับสนุนนาวิกโยธินอย่างใกล้ชิด โดยใช้เครื่องAV-8S(Harrier)ซึ่งเป็นเครื่องขึ้นลงทางดิ่ง ทำให้นาวิกโยธินสามารถทำการรบได้อย่างมีประสิทธิประภาพมากขึ้น
การขนส่งในอดีตนาวิกโยธินจะใช้ยานยนต์สะเทินน้ำสะเทินบกในการบุกหรือเข้ายึดหัวหาด แต่ในปัจจุบันนั้นจะมีการใช้เฮลิคอปเตอร์หรืออากาศยานปีกหมุนเข้าช่วยในการขนส่งนาวิกโยธินเข้าสู่แนวหน้าได้รวดเร็วมากขึ้น
 
== กำลังรบบนบก ==
ในการปฏิบัติงานนาวิกโยธินในปัจจุบันนั้น มีขีดความสามารถที่สูงขึ้นซึ่งต่างจากเมื่อก่อน ซึ่งตอนนี้กำลังรบของนาวิกโยธินก็จะมีรถถังและรถหุ้มเกราะ(ยานสะเทินน้ำสะเทินบก)และปืนใหญ่เข้ามาช่วยทำการรบ ในส่วนของกำลังทหารนั้นก็ได้มีการฝึกหลักสูตรการรบพิเศษแขนงวิชาการลาดตระเวนสะเทินน้ำสะเทินบก หรือ RECON มาเป็นหน่วยรบพิเศษสำหรับนาวิกโยธิน ซึ่งทำให้นาวิกโยธินนั้นก็ถือได้ว่าเป็นกำลังรบหลักที่สำคัญของกองทัพเลยก็ว่าได้
 
== ปฏิบัติการรักษาสันติภาพในกรอบของสหประชาชาติ (United Nations Peacekeeping Operations) ==
 
** 1 มว.ทหารช่างในอิรัก (2 ผลัด)
** 1 มว.ทหารช่างในบุรุนดี (3 ผลัด)
เส้น 79 ⟶ 65:
** นายทหารประสานงานในซูดาน
 
[[ภาพไฟล์:Unit colours of the 1st Marine Battalion, King's Guard.jpg|thumb|250px|[[กองพันทหารราบที่ ๑ รักษาพระองค์ กรมทหารราบที่ ๑ กองพลนาวิกโยธิน]]ในสังกัด[[กองพลนาวิกโยธิน]] ในชุด[[ทหารรักษาพระองค์]]]]
 
==หน่วยงานในบังคับบัญชา==