ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปรัชญาการศึกษา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Espeerasin (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Espeerasin (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่มหัวข้อปรัชญาการศึกษา
 
บรรทัด 1:
'''ปรัชญาการศึกษา'''<ref>ราชบัณฑิตยสถาน, ''ศัพท์ศึกษาศาสตร์'', กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน, 2555, หน้า 401</ref> ({{lang-en|Philosophy of education; educational philosophy}}) เป็นสาขาหนึ่งของ[[ปรัชญา]] [[ศึกษาศาสตร์]] และ[[จิตวิทยาประยุกต์]] ที่ใช้ในการพิจารณาวัตถุประสงค์ รูปแบบ วิธีการและผลทางการศึกษา<ref>Frankena, William K.; Raybeck, Nathan; Burbules, Nicholas (2002). "Philosophy of Education". In Guthrie, James W. Encyclopedia of Education, 2nd edition. New York, NY: Macmillan Reference. ISBN 0-02-865594-X</ref> โดยได้รับอิทธิพลจาก 2 ด้านที่สำคัญ ด้านแรกคือทางด้านปรัชญา โดยเฉพาะอย่างยิ่งในส่วนของ[[จริยธรรม]]และ[[ญาณวิทยา]] อีกด้านหนึ่งคือปัญหาที่เกิดขึ้นจากการเรียนการสอน<ref>D. C. Phillips, "What is philosophy of education", in ''Sage Handbook of Philosophy of Education'', ISBN 9780415428927</ref> การเรียนการสอนทางด้านปรัชญาการศึกษานั้นจัดการเรียนในคณะทางด้าน[[ศึกษาศาสตร์]] มากกว่าที่จะจัดการเรียนการสอนในคณะ[[จิตวิทยา]]<ref>Noddings, N. (1950). Philosophy of Education. Boulder,
CO: Westview ISBN 0-8133-8429-X</ref><ref>{{Harvnb|Noddings|1995|pages=1–6}}</ref> สำหรับปรัชญาการศึกษานั้นสืบย้อนไปถึงในสมัย[[โสกราตีส]] แต่ได้รับการยอมรับในฐานะศาสตร์ ๆ หนึ่งใน[[คริสต์ศตวรรษที่ 19]]<ref name="introBlack">Blake, Smeyers, Smith, and Standish, "Introduction". ''Blackwell Guide to the Philosophy of Education'', ISBN 0631221182</ref> เนื่องจากศาสตร์นี้ยังขาดการเชื่อมต่อกับศาสตร์อื่นๆทางด้านจิตวิทยา ส่งผลให้ปรัชญาการศึกษายังคงเปิดรับแนวความคิดใหม่<ref name=SEP>Phillips, D.C., [http://plato.stanford.edu/archives/spr2009/entries/education-philosophy Philosophy of Education], ''The Stanford Encyclopedia of Philosophy'' (Spring 2009 Edition), Edward N. Zalta (ed.)</ref>
 
== ปรัชญาการศึกษา ==
 
== นักปรัชญาการศึกษา ==
 
== อ้างอิง ==