ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Pongsak ksm (คุย | ส่วนร่วม)
→‎เครื่องราชอิสริยาภรณ์: ถ้าไม่ระบุปี ไม่ต้องใส่ทุกลำดับชั้น
Pongsak ksm (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 80:
'''สมัยที่ 2''' (12 พฤษภาคม พ.ศ. 2522 – 3 มีนาคม พ.ศ. 2523)
 
ภายหลังการเลือกตั้ง ก็มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งพลเอกเกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ เป็นนายกรัฐมนตรีอีกครั้ง เมื่อวันที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2522 โดยมีพลอากาศเอกหะริน หงสกุลประธานรัฐสภาเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ และดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2522/A/086/1.PDF พระบรมราชโองการ ประกาศ แต่งตั้งรัฐมนตรี (จำนวน ๔๔ ราย)]</ref> อีกตำแหน่งหนึ่ง
 
การบริหารประเทศของรัฐบาลพลเอกเกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ ตั้งแต่สมัยที่ 1 ต่อเนื่องมาถึงสมัยที่ 2 ต้องประสบปัญหามากมายหลายประการ ไม่ว่าจะเป็นปัญหาเศรษฐกิจซึ่งเป็นปัญหาที่สำคัญมาก การผันผวนของราคาน้ำมันในตลาดโลก ทำให้ต้องขึ้นราคาน้ำมันภายในประเทศ ส่งผลเป็นลูกโซ่ ให้มีการปรับขึ้นราคาค่าไฟฟ้าและน้ำประปา สร้างความไม่พอใจแก่ประชาชน รัฐบาลจึงถูกมองว่าไม่มีความสามารถในการแก้ไขปัญหาบ้านเมือง มีความเคลื่อนไหวจากกลุ่มพลังนอกสภากดดันรัฐบาลอยู่ตลอดเวลา ขณะเดียวกันสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรก็โจมตีรัฐบาลอย่างหนัก โดยการเปิดอภิปรายไม่ไว้วางใจรัฐบาลเมื่อวันที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2522 มุ่งประเด็นความล้มเหลวในการแก้ปัญหาเศรษฐกิจ แต่ในที่สุดด้วยเสียงที่มากกว่า รัฐบาลจึงได้รับความไว้วางใจให้บริหารประเทศต่อไปได้<ref>วีรชาติ ชุ่มสนิท. เรื่องเดียวกัน, หน้า 135-136.</ref>