ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นพเคราะห์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ย้อนการแก้ไขของ 159.192.99.187 (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย BotKung
ป้ายระบุ: ย้อนรวดเดียว
บรรทัด 16:
{{main|พระจันทร์}}
 
'''พระจันทร์''' ([[อักษรเทวนาครี|เทวนาครี]]: चंद्र) เป็น'''เทวดานพเคราะห์'''องค์หนึ่ง ในคติไทย พระจันทร์ถูกสร้างขึ้นมาจากนางอัปสรเทวธิดา (นางฟ้า) ๑๕ องค์ บดป่นเป็นผง ห่อผ้า[[สีขาว]]นวล แล้วเสกได้เป็นพระจันทร์ มีสีวรกายขาวนวล ทรงอาชา ([[ม้า]]) เป็นพาหนะ ประจำอยู่ทิศตะวันออก และแสดงถึงอักษรวรรค กะ (ก ข ค ฅ ฆ ง)
 
พระจันทร์ เป็นเทวดานพเคราะห์ประเภทศุภเคราะห์ ให้ผลในทางนุ่มนวลอ่อนโยน นั่นคือ ผู้ใดเกิดวันจันทร์ หรือมีพระจันทร์สถิตร่วมกับ[[ลัคนา]] มักมีอารมณ์อ่อนโยน เพ้อฝัน รวนเร (แต่อาจมีเล่ห์เหลี่ยมมาก) ตามนิทานชาติเวร พระจันทร์เป็นมิตรกับ[[พระพุธ]] และเป็นศัตรูกับ[[พระพฤหัสบดี]]
บรรทัด 25:
[[ไฟล์:Angraka graha.JPG|130px|thumb|พระอังคาร]]
{{main|พระอังคาร}}
'''พระอังคาร''' ([[เทวนาครี]]: मंगल, มังคละ) เป็น'''เทวดานพเคราะห์'''องค์หนึ่ง ในคติไทย พระอังคารถูกสร้างขึ้นมาจากกระบือจากมหิงสา ([[ควาย]]) ๘ ตัว บดป่นเป็นผง ห่อผ้า[[สีชมพู]]หม่น แล้วเสกได้เป็นพระอังคาร มีสีวรกายชมพู ทรงมหิงสาเป็นพาหนะ ประจำอยู่ทิศตะวันออกเฉียงใต้ และแสดงถึงอักษรวรรค จะ (จ ฉ ช ฌ ญ)
 
พระอังคาร เป็นเทวดานพเคราะห์ประเภทบาปเคราะห์ ให้ผลในทางรุนแรงและเร่าร้อน นั่นคือ ผู้ใดเกิดวันอังคาร หรือมีพระอังคารสถิตร่วมกับ[[ลัคนา]] มักมีอารมณ์มุทะลุ ตึงตัง ชอบใช้กำลัง ใจร้อน ตามนิทานชาติเวร พระอังคารเป็นมิตรกับ[[พระศุกร์]] และเป็นศัตรูกับ[[พระอาทิตย์]]
 
ในโหราศาสตร์ไทย พระอังคารถูกแทนด้วยสัญลักษณ์ ๓ และด้วยเหตุที่สร้างขึ้นมาจากกระบือจากมหิงสา ๘ ตัว จึงมีกำลังพระเคราะห์เป็น ๘ สำหรับพระประจำวันเกิดของผู้ที่เกิดวันอังคารก็คือ[[ปางไสยาสน์]]และภายหลังมี[[ปางลีลา]]เพิ่มอีกหนึ่งปาง
 
== พระพุธ ==
บรรทัด 52:
[[ไฟล์:Shukra graha.JPG|130px|thumb|พระศุกร์]]
{{main|พระศุกร์}}
'''พระศุกร์''' ([[อักษรเทวนาครี|เทวนาครี]]: बृहस्पति) เป็น'''เทวดานพเคราะห์'''องค์หนึ่ง ในคติไทย พระศุกร์ถูกสร้างขึ้นมาจากโคคาวี ([[วัว]]) ๒๑ ตัว (บางตำรากล่าวว่าสร้างจากเทพยาธร-ครึ่งเทพครึ่งมนุษย์) บดป่นเป็นผง ห่อผ้า[[สีฟ้า]]อ่อน แล้วเสกได้เป็นพระศุกร์ มีสีวรกายฟ้า ทรงคาวีเป็นพาหนะ ประจำอยู่ทิศเหนือ และแสดงถึงเศษวรรคที่ ๒ (ส ห ฬ อ) พระศุกร์จัดเป็นครูของพวกยักษ์ ซึ่งตรงข้ามกับพระพฤหัสบดีที่เป็นครูของเทพ
 
พระศุกร์เป็นเทวดานพเคราะห์ประเภทศุภเคราะห์ ให้ผลในทางอ่อนหวาน แต่ค่อนข้างไปทางใฝ่ต่ำ นั่นคือ ผู้ใดเกิดวันศุกร์หรือมีพระศุกร์สถิตร่วมกับลัคนา มักมีกิริยาน่ารัก อ่อนหวาน ชอบงานศิลปะทุกประเภท ตามนิทานชาติเวร พระศุกร์เป็นมิตรกับ[[พระอังคาร]]และเป็นศัตรูกับ[[พระเสาร์]]
 
ในโหราศาสตร์ไทย พระศุกร์ถูกแทนด้วยสัญลักษณ์ ๖ และด้วยเหตุที่สร้างขึ้นมาจากโคคาวี ๒๑ ตัว จึงมีกำลังพระเคราะห์เป็น ๒๑ สำหรับพระประจำวันเกิดของผู้ที่เกิดวันศุกร์ก็คือ[[ปางรำพึง]]
 
== พระเสาร์ ==
บรรทัด 72:
'''พระราหู''' ([[อักษรเทวนาครี|เทวนาครี]]: राहु) เป็น'''เทวดานพเคราะห์'''องค์หนึ่ง ในคติไทย
กำเนิดของพระราหูมีอยู่ด้วยกันสองตำนานด้วยกันคือ
;๑.พระราหูถูกสร้างขึ้นมาโดย[[พระอิศวร]] หรือพระศิวะจากหัวผีโขมดกะโหลก ๑๒ หัว บดป่นเป็นผง ห่อผ้า[[สีทอง]] แล้วประพรมด้วยน้ำอัมฤตเสกได้เป็นพระราหู มีสีวรกายสีนิลออกไปทางทองแดง มีวิมานสีนิลอยู่ในอากาศ ประจำอยู่[[ทิศตะวันตกเฉียงเหนือ]] (ทิศพายัพ) และแสดงถึง[[เศษวรรค]]ที่ ๑ (ย ร ล ว)
;๒.พระราหูเป็นโอรสของท้าววิประจิตติและนางสิงหิกาหรือนางสิงหะรา เมื่อเกิดมามีกายเป็นยักษ์และมีหางเป็นนาค
 
บรรทัด 86:
จากนั้นเมื่อครั้งใดที่พระราหูได้พบเจอพระอาทิตย์หรือพระจันทร์ พระราหูก็จะจับมากลืนกินด้วยความโกรธแค้นที่เทวดาทั้งสององค์นำเรื่องไปทูลพระนารายณ์ แต่อมไว้ในปากได้ไม่นานก็ต้องคายออกมาเพราะทนความร้อนและรัศมีของเทวดานพเคราะห์ทั้งสองไม่ได้ เกิดเป็นเหตุของปรากฏการณ์[[สุริยุปราคา]]และ[[จันทรุปราคา]]ตามคติความเชื่อของคนโบราณ
 
ในโหราศาสตร์ไทย พระราหูถูกแทนด้วยสัญลักษณ์ ๘ และด้วยเหตุที่สร้างขึ้นมาจากหัวผีโขมดกะโหลก ๑๒ หัว จึงมีกำลังพระเคราะห์เป็น ๑๒
 
== พระเกตุ ==