ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คำพ้องเสียง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
เพิ่มอ้างอิงและยังไม่จัดหมวดหมู่
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{เพิ่มอ้างอิง}} {{เก็บกวาด}}
[[File:Auction-storage-no-trespassing-sign-tn1.jpg|thumb|right|280px|ป้ายภาษาอังกฤษเขียนว่า {{lang|en|''Trespassers will be shot on site.''}} ('ผู้บุกรุกจะถูกยิงในสถานที่') แทนที่จะเขียนว่า {{lang|en|''Trespassers will be shot on sight.''}} ('ผู้บุกรุกจะถูกยิงทันทีที่เห็น') ทั้งนี้ คำ {{lang|en|''site''}} เป็นคำพ้องเสียงของคำ {{lang|en|''sight''}}]]
คำพ้องเสียง ({{lang-en|Homophone}}) หมายถึงคำในภาษาหนึ่งที่มี[[หน่วยเสียง]]เดียวกัน แต่หน่วยเสียงนั้นสามารถมีความหมายได้มากกว่าหนึ่งอย่าง ซึ่งตรงข้ามกับ[[คำต่างเสียง]] คำพ้องเสียงใน[[ภาษาไทย|ภาษาไทยกลาง]]ส่วนใหญ่มักไม่[[คำพ้องรูป|พ้องรูป]]
'''คำพ้องเสียง''' ({{lang-en|homophone}}) คือคำที่[[การออกเสียง|ออกเสียง]]เหมือนกัน (ในระดับต่าง ๆ) กับอีกคำหนึ่ง แต่มีความหมายต่างกัน คำพ้องเสียงอาจสะกดเหมือนกัน เช่น ''มัน'' ('คำใช้แทนผู้ที่เราพูดถึง') และ ''มัน'' ('มีรสอย่างรสกะทิหรืออย่างถั่วลิสงคั่ว') หรือสะกดต่างกัน เช่น ''หาญ'' ('กล้า') และ ''หาร'' ('แบ่งส่วนเท่า ๆ กัน') ศัพท์ "พ้องเสียง" ยังอาจใช้กับหน่วยที่ยาวหรือสั้นกว่าคำ เช่น วลี ตัวอักษร หรือกลุ่มตัวอักษรที่ออกเสียงเหมือนกับวลี ตัวอักษร หรือกลุ่มตัวอักษรอื่น
 
คำพ้องเสียง<u>ที่สะกดเหมือนกัน</u>ถือเป็นทั้ง[[คำพ้องรูป]] (homograph) และ[[คำพ้องรูปพ้องเสียง]] (homonym) ด้วย<ref>ตามความหมายอย่างแคบของคำ {{lang|en|''homonym''}} กล่าวคือ เป็นคำที่สะกด''และ''ออกเสียงเหมือนกัน อย่างไรก็ตาม {{lang|en|''homonym''}} ตามความหมายกว้าง ๆ ซึ่งพบบ่อยในบริบทที่ไม่ใช่เรื่องเฉพาะทาง คือ คำที่สะกด''หรือ''ออกเสียงเหมือนกัน ตามนิยามนี้ {{lang|en|''homophone''}} ทั้งหมด (ไม่ว่าจะสะกดเหมือนกันหรือไม่) จะเป็นคำพ้องรูปพ้องเสียง [http://dictionary.reference.com/browse/homonym?r=66 Random House Unabridged Dictionary entry for "homonym"] at Dictionary.com</ref>
==วิธีใช้==
[[File:Auction-storage-no-trespassing-sign-tn1.jpg|thumb|right|ในป้ายภาษาอังกฤษเขียน "Trespassers will be shot on site" คำว่า "site" เป็นคำพ้องเสียงเทียมกับคำว่า "sight"]]
โดยทั่วไปคำพ้องเสียงมีสองแบบคือคำพ้องเสียงแท้กับคำพ้องเสียงเทียม คำพ้องเสียงแท้หมายถึงคำสองคำหรือมากกว่านั้นมีหน่วยเสียงเดียวกันในแง่การใช้งานจริง ส่วนคำพ้องเสียงเทียมหมายถึงคำหนึ่งๆที่หน่วยเสียงต่างกันเล็กน้อยสามารถจงใจออกเสียงให้ผิดแต่ความหมายต้นตอคำสามารถไปพ้องเสียงกับคำในอีกความหมายนึง
 
==คำพ้องเสียงแท้ตัวอย่างในภาษาไทย==
คำพ้องเสียงเทียมในประเทศไทยที่คุ้นเคยที่สุดคือการเปลี่ยนเสียง "ร" /r/ เป็น "ล" /l/ และรายการที่สำเสนอเกี่ยวกับคำพ้องเสียงในประเทศไทยที่ขึ้นชื่อที่สุดคือรายการ "มุขควายเครียด" ตัวอย่างเช่นให้วินมอเตอร์ไซค์นั่งนิ่งๆอยู่คนหนึ่งแล้วพิธีกรทั้งสองคนเอานิ้วทิ่มบ่าคนละข้างของวินมอเตอร์ไซค์คนนั้นแล้วบอกว่า "เล่น[[วินนิงอีเลฟเวน|วินนิ่ง]]"<ref>https://www.youtube.com/watch?v=M6bpCxZSyfk</ref>
คำพ้องเสียงแท้ในภาษาไทยนั้นมีไม่มากนัก ดังที่จะกล่าวต่อไปนี้เช่น
 
==คำพ้องเสียงแท้ในภาษาไทย==
คำพ้องเสียงแท้ในภาษาไทยนั้นมีไม่มากนัก ดังที่จะกล่าวต่อไปนี้
{|class="wikitable" style="text-align: center;"
|-
!หน่วยเสียง!!รูปเขียนความหมายที่หนึ่ง!!ความหมายที่หนึ่งใน[[ภาษาอังกฤษ]]!!รูปเขียนความหมายที่สอง!!ความหมายที่สองในภาษาอังกฤษ
|-
|{{IPA|/mān/}}||''มัน''||'คำใช้แทนผู้ที่เราพูดถึง'||''มัน''||'มีรสอย่างรสกะทิหรืออย่างถั่วลิสงคั่ว'
|/tɕān/||จันทร์/จัน||Moon||จันทน์||Sandalwood
|-
|{{IPA|/kòt/}}||''กด''||'ใช้กำลังดันให้ลง'||''กช''||'ดอกบัว'
|/wān/||วัน||Day||วรรณ์||Level
|-
|{{IPA|/kʰâ:/}}||''ค่า''||'จำนวนเงินที่เป็นราคาสิ่งของหรือบริการ'||''ฆ่า''||'ทำให้ตาย'
|/kòt̚/||กด||Press||กช||Tulip
|-
|{{IPA|/kʰān/}}||''ครรภ์''||'ท้อง' (ใช้แก่หญิงที่มีลูกอยู่ในท้อง)||''คันธ์''||'กลิ่น'
|/rót̚/||รด||Pour||รถ||Vehicle
|-
|{{IPA|/rót/}}||''รด''||'ราดของเหลวไปยังสิ่งใดสิ่งหนึ่ง'||''รถ''||'ยานที่มีล้อสำหรับเคลื่อนไป'
|/kʰāb/||ครรภ์||Pregnant||คันธ์||Good smell
|-
|{{IPA|/hǎ:n/}}||''หาญ''||Brave'กล้า'||''หาร''||Divide'แบ่งส่วนเท่า ๆ กัน'
|-
|{{IPA|/t͡ɕān/}}||''จันทร์||'ชื่อวันที่สองของสัปดาห์'||''จันทน์''||'ชื่อพรรณไม้หอมบางชนิด'
|/kʰâ:/||ค่า||Price||ฆ่า||Kill
|-
|{{IPA|/wān/}}||''วัน''||'ระยะเวลายี่สิบสี่ชั่วโมง'||''วรรณ''||'สี'
|/mān/||มัน||It||มัน||Oiled
|-
|}
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
[[หมวดหมู่:คำศัพท์]]
[[หมวดหมู่:อรรถศาสตร์]]
[[หมวดหมู่:ภาวะเสียการอ่านเข้าใจ]]
[[หมวดหมู่:ความกำกวม]]