ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระราชวังต้องห้าม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยแอปสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยแอปสำหรับแอนดรอยด์
Miwako Sato (คุย | ส่วนร่วม)
จัดรูปแบบ +เก็บกวาดด้วยสจห.
บรรทัด 1:
{{กล่องข้อมูล พิพิธภัณฑ์
| ชื่อพิพิธภัณฑ์ = พิพิธภัณฑ์พระราชวัง<br>故宫博物院
| ชื่อภาษาอื่น =
| ภาพ = Forbidden City Beijing Shenwumen Gate.JPG
| คำบรรยายภาพ = ประตูเสินอู่เหมิน ประตูด้านทิศเหนือ มีป้ายตัวอักษรด้านล่างอ่านว่า "พิพิธภัณฑ์พระราชวัง" (故宫博物院)
| ก่อตั้ง = ค.ศ. 1925
| ก่อสร้าง = ค.ศ. 1406–1420
| สถาปนิก = [[ไคว่ เซียง]]
| สถาปัตยกรรม = [[สถาปัตยกรรมจีน]]
| ผู้อำนวยการ =
| ผู้ดูแล = [[ชาน จี่ เซียง]]
| จำนวนผู้เข้าชม = 16.7 ล้านคน<ref name=visitors>{{cite news |url=http://www.chinanews.com/sh/2017/12-31/8413475.shtml |script-title=zh:故宫2017年接待观众逾1699万人次 创历史新纪录 |language=zh-hans |publisher=[[China News Service]] |date=31 December 2017 |accessdate=24 March 2018}}</ref>
| ที่ตั้ง = 4 ถนนจิ่งชานเฉียน เขตตงเฉิง [[ปักกิ่ง]]
| ประเทศที่ตั้ง = [[สาธารณรัฐประชาชนจีน]]
| พิกัดภูมิศาสตร์ = {{coord|39.915987|116.397925|type:landmark_region:CN-11|display=inline,title}}
| เว็บไซต์ = {{url|http://en.dpm.org.cn}} (ภาษาอังกฤษ)<br>{{url|http://www.dpm.org.cn}} (ภาษาจีน)
}}
{{กล่องข้อมูล มรดกโลก
| Image = [[ภาพไฟล์:Forbidden city 07.jpg|248px]]
| imagecaption =
| Country = [[กรุงปักกิ่ง]] (พระราชวังต้องห้าม) และ [[มณฑลเหลียวหนิง]] (พระราชวังเสิ่นหยาง) {{flagcountry|People's Republic of China}}
| Name = พระราชวังแห่ง<br> ราชวงศ์หมิงและราชวงศ์ชิง<br> ในปักกิ่งและเสิ่นหยาง
| Type = มรดกโลกทางวัฒนธรรม
| Year = 2530
| Criteria = (i) (ii) (iii) (iv)
| Link = http://whc.unesco.org/en/list/439
}}
<!--
{{Chinese
| pic = Forbidden_City_(Chinese_characters).svg
| piccap = "พระราชวังต้องห้าม" ในตัวอักษรภาษาจีน
| picsize = 125px
| c = 紫禁城
| l = "พระราชวังต้องห้ามสีม่วง [ดาวเหนือ]"
| p = Zǐjìnchéng
| mi = {{IPAc-cmn|z|^|3|.|j|in|4|.|ch|eng|2}}
| j = Zi2-gam3-sing4
| y = Jí-gam-sìhng
| ci = {{IPAc-yue|z|i|2|.|g|am|3|.|s|ing|4}}
| poj = Chí-kìm-siâⁿ
| tl = Tsí-kìm-siânn
| mnc = [[ไฟล์:Dabkūri dorgi hoton.png|40px]]
| mnc_rom = Dabkūri dorgi hoton
}}
-->
บรรทัด 52:
[[ไฟล์:Xiezhi2.jpg|thumb|190px]]
-->
'''พระราชวังต้องห้าม''' ([[ภาษาจีน|จีน]]: 紫禁城; [[พินอิน]]: Zǐjìn Chéng ''จื่อจิ้นเฉิง''; [[ภาษาอังกฤษ|อังกฤษ]]: Forbidden City) หรือพระราชวังกู้กง จากชื่อภาษาจีน แปลตามตัวอักษรได้ว่า "เมืองต้องห้ามสีม่วง" พระราชวังต้องห้ามตั้งอยู่ใจกลางของกรุง[[ปักกิ่ง]] เมืองหลวงของ[[ประเทศจีน]] ({{Coord|39|54|56|N|116|23|27|E|region:ID_type:landmark}}) เป็นพระราชวังหลวงมาตั้งแต่สมัยกลาง[[ราชวงศ์หมิง]]จนถึง[[ราชวงศ์ชิง]] พระราชวังต้องห้ามยังรู้จักกันในนาม '''พิพิธภัณฑ์พระราชวัง''' ([[ภาษาจีน]]: 故宫博物院; [[พินอิน]]: Gùgōng Bówùyùan) ครอบคลุมพื้นที่ 720,000 [[ตารางเมตร]] หรือ 450 [[ไร่]] (0.72 [[ตร.กม.]]) อาคาร 980 หลัง<ref name="palace rooms">{{cite news|script-title=zh:故宫到底有多少间房 |trans-title=How many rooms in the Forbidden City |url=http://www.singtaonet.com/arts/t20060927_343639.html |publisher=Singtao Net |date=2006-09-27 |accessdate=2007-07-05 |language=zh-hans |deadurl=yes |archiveurl=https://web.archive.org/web/20070718140600/http://www.singtaonet.com/arts/t20060927_343639.html |archivedate=18 July 2007 |df=dmy }}</ref> มีห้องทั้งหมด 9,999 ห้อง<ref>http://www.manager.co.th/china/ViewNews.aspx?newsID=4623400246500 </ref> และมีพระที่นั่ง 75 องค์ หอพระสมุด ห้องหับต่าง ๆ อีกมาก รวมทั้งยังมีสวน ลานกว้าง ทางเดินเชื่อมกันโดยตลอด มีคูและกำแพงที่สูงถึง 11 เมตร<ref>http://www.school.net.th/library/create-web/10000/generality/10000-2658.html</ref> ล้อมรอบ ใช้ระยะก่อสร้างประมาณ 14 ปี ตั้งแต่ [[พ.ศ. 1949]]1406 จนถึง [[พ.ศ. 1963]]1420
 
พระราชวังต้องห้ามตั้งอยู่ทางทิศเหนือของ[[จตุรัสเทียนอันเหมิน]] นักท่องเที่ยวสามารถเข้าสู่พระราชวังต้องห้ามได้ทางจตุรัสนี้ ผ่าน'''[[ประตูเทียนอันเหมิน]]''' บริเวณรอบจตุรัสเทียนอันเหมิน เรียกว่า อาณาเขตหลวง โดยมีสิ่งก่อสร้างสำคัญอยู่โดยรอบ เช่น มหาศาลาประชาคม ในอดีต พระราชวังแห่งนี้ เป็นเขตหวงห้ามไม่ไห้ประชาชนเข้า แม้ข้าราชการชั้นสูง ยังต้องขออนุญาตเป็นกรณีพิเศษ จึงเรียกพระราชวังนี้ว่า "พระราชวังต้องห้าม" จักรพรรดิจะทรงประทับอยู่ในพระราชวังแห่งนี้ กั้นพระองค์จากโลกภายนอก โดยมีสนมกำนัล ขันที และข้าหลวงรับใช้ซึ่งคนเหล่านี้ต้องอาศัยอยู่ในนครต้องห้ามตลอดชีวิต เพื่อความสำราญของจักรพรรดิ ในวังจะมี[[วิเสท]] 6,000 คน ประกอบพระกระยาหาร มีสนมกำนัล 9,000 นาง ซึ่งมี[[ขันที]] 70,000 คน คอยดูแลให้ มีคำเล่าลือกันว่า พระนาง[[ซูสีไทเฮา]] เวลาเสวยก็จะมีพระกระยาหารถึง 148 ชุด และทรงส่งขันทีไปเสาะหาชายหนุ่มซึ่งเข้าวังแล้วจะไม่มีผู้ใดพบเห็นอีกเลย
 
แม้ว่า[[ประเทศจีน]]จะไม่มีสถาบัน[[พระมหากษัตริย์]]แล้ว พระราชวังต้องห้ามก็ยังคงเป็นสัญลักษณ์ของประเทศจีน และภาพประตูเทียนอันเหมินก็ยังปรากฏอยู่ในตราประจำ[[สาธารณรัฐประชาชนจีน]]อีกด้วย นอกจากนี้ พระราชวังต้องห้ามยังเป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงที่สุดแห่งหนึ่งของโลก ซึ่งไม่นานมานี้ ทางรัฐบาลจีนได้มีนโยบายจำกัดปริมาณนักท่องเที่ยวเพื่อจะอนุรักษ์สภาพของอาคารและสวนหย่อมไว้
 
[[ยูเนสโก]]ได้ประกาศให้พระราชวังต้องห้ามร่วมกับ[[พระราชวังเสิ่นหยาง]]เป็นหนึ่งใน[[มรดกโลก]]ในนาม '''พระราชวังหลวงแห่งราชวงศ์หมิงและราชวงศ์ชิงในปักกิ่งและเสิ่นหยาง''' เมื่อ [[พ.ศ. 2530]] (ค.ศ. 1987)
 
== ชื่อ ==
ชื่อ "พระราชวังต้องห้าม" นั้นแปลมาจากชื่อในภาษาจีนว่า ''จื่อจิ้น เฉิง'' ({{zh|c={{linktext|紫禁城}}|p=Zǐjīnchéng}} แปลตามตัวอักษรได้ว่า "เมือง ต้องห้าม สีม่วง") ชื่อ ''จื่อจิ้น เฉิง'' ปรากฏขึ้นอย่างเป็นทางการครั้งแรกในปี .ศ. 21191576<ref>p26, Barmé, Geremie R (2008). The Forbidden City. Harvard University Press.</ref> สำหรับในภาษาอังกฤษเรียกพระราชวังนี้ว่า ''เมืองต้องห้าม'' (Forbidden City) หรืออีกชื่อหนึ่งคือ ''พระราชวังต้องห้าม'' (Forbidden Palace)<ref>See, e.g., {{cite journal|title=Perspective of urban land use in Beijing|journal=GeoJournal|date=April 1990|first=Guo-hui|last=Gan|volume=20|issue=4|pages=359–364|doi=10.1007/bf00174975}}</ref>
 
ชื่อ ''จื่อจิ้น เฉิง'' เป็นชื่อที่มีความสำคัญหลายระดับ คำว่า ''จื่อ'' หรือ "สีม่วง" อ้างอิงถึง[[ดาวเหนือ]] ซึ่งจีนโบราณเรียกดาวดวงนี้ว่า ''ดาวจื่อเว่ย'' และใน[[ดวงจีน]]แบบดั้งเดิมถือว่าเป็นสรวงสวรรค์ที่ประทับของ[[เง็กเซียนฮ่องเต้]] ล้อมรอบด้วยกลุ่มดาวโดยรอบ [[กลุ่มดาวจีน|การปิดล้อมจื่อเว่ย]] ({{zh|c={{linktext|紫微垣}}|p=Zǐwēiyuán}}) ถือเป็นราชอาณาจักรของเง็กเซียนฮ่องเต้และพระบรมวงศานุวงศ์ของพระองค์ พระราชวังต้องห้ามถือเป็นที่ประทับของจักรพรรดิ (ฮ่องเต้) บนแผ่นดิน ซึ่งเป็นโลกคู่กัน คำว่า ''จิ้น'' หรือ "ต้องห้าม" อ้างอิงถึงความจริงที่ว่าไม่มีผู้ใดที่สามารถผ่านเข้าออกพระราชวังได้ โดยมิได้รับพระบรมราชานุญาตจากสมเด็จจักรพรรดิ ส่วนคำว่า ''เฉิง'' หมายถึง "เมือง"<ref name="Yu 18"/>
บรรทัด 67:
ในทุกวันนี้ สถานที่แห่งนี้เป็นที่รู้จักโดยทั่วไปว่า ''กู้กง'' ({{zh|c={{linktext|故宫}}|p=Gùgōng}}) ซึ่งหมายถึง "พระราชวังเก่า"<ref>"กู้กง" ในความรู้สึกโดยทั่วไปยังสามารถอ้างอิงถึงพระราชวังเก่าทั้งหมดได้ด้วย อีกตัวอย่างที่โดดเด่นคือพระราชวังหลวงเก่า ([[พระราชวังมุกเดน]]) ใน[[เสิ่นหยาง]]</ref> ส่วนพิพิธภัณฑ์ที่ตั้งอยู่บนอาคารเหล่านี้รู้จักในชื่อ "พิพิธภัณฑ์พระราชวัง" ({{zh|c={{linktext|故宫博物院}}|p=Gùgōng Bówùyùan}})
 
== ประวัติ ==
{{main|ประวัติของพระราชวังต้องห้าม}}
[[ไฟล์:Verbotene-Stadt1500.jpg|thumb|left|upright|ภาพวาดพระราชวังต้องห้ามในสมัย[[ราชวงศ์หมิง]]เป็น[[จิตรกรรมแบบราชวงศ์หมิง]]]]
[[ไฟล์:Die_Gartenlaube_(1853)_b_445.jpg|thumb|left|upright|ภาพวาดพระราชวังต้องห้ามในหนังสือเยอรมัน ''The Garden Arbor'' (ค.ศ. 1853)]]
 
เมื่อ[[จักรพรรดิหย่งเล่อ|องค์ชายจูตี้]] พระราชโอรสใน[[จักรพรรดิหงอู่|สมเด็จพระจักรพรรดิหงอู่]]เสด็จขึ้นครองราชย์เป็น[[จักรพรรดิหย่งเล่อ|สมเด็จพระจักรพรรดิหย่งเล่อ]]แล้ว พระองค์ทรงโปรดให้ย้ายเมืองหลวงจากหนานจิงไปยังปักกิ่ง การก่อสร้างพระราชวังหลวงได้เริ่มต้นขึ้นเมื่อ [[พ.ศ. 1949]]1406 และต่อมาจึงกลายมาเป็นพระราชวังต้องห้าม<ref name="Yu 18">p. 18, {{cite book|last=Yu|first=Zhuoyun|title=Palaces of the Forbidden City|year=1984|publisher=Viking|location=New York|isbn=0-670-53721-7}}</ref>
 
การก่อสร้างดำเนินไปเป็นระยะเวลา 14 ปี และใช้กรรมกรมากกว่าหนึ่งล้านคน<ref name="Yang 15">p. 15, {{cite book|last=Yang|first=Xiagui|others=Li, Shaobai (photography) ; Chen, Huang (translation)|title=The Invisible Palace|year=2003|publisher=Foreign Language Press|location=Beijing|isbn=7-119-03432-4}}</ref> วัสดุที่ถูกนำมาใช้ ประกอบด้วย ท่อนไม้ชั้นเยี่ยมจากไม้ ''Phoebe zhennan'' ({{zh|c={{linktext|楠木}}|p=nánmù}}) ซึ่งพบได้ทางป่าด้านตะวันตกเฉียงใต้ของจีน และหินอ่อนขนาดใหญ่จากเหมืองใกล้กับปักกิ่ง<ref name="CCTV">{{cite video|people=China Central Television, The Palace Museum|date=2005|url=http://www.cctv.com/history/special/C15041/01/index.shtml|title=Gugong: "I. Building the Forbidden City"|medium=Documentary|location=China|publisher=CCTV}}</ref> พื้นของตำหนักส่วนใหญ่ถูกปูด้วย "อิฐทองคำ" ({{zh|c={{linktext|金|砖}}|p=jīnzhuān}}) ซึ่งเป็นอิฐเผาพิเศษจาก[[ซูโจว]]<ref name="Yang 15"/>
 
ตั้งแต่ [[พ.ศ. 1963]]1420 ถึง [[พ.ศ. 2187]]1644 พระราชวังต้องห้ามเป็นศูนย์กลางอำนาจของราชวงศ์หมิง ในเดือนเมษายน .ศ. 21871644 พระราชวังแห่งนี้ถูกยึดครองโดยกลุ่มกบฎที่นำโดย[[หลี่ จื้อเฉิง]] โดยเขาประกาศตัวเองเป็นสมเด็จพระจักรพรรดิแห่ง[[ราชวงศ์ชุน]]<ref>p. 69, Yang (2003)</ref> แต่ไม่ช้าเขาก็ต้องลี้ภัยออกจากพระราชวังต้องห้ามไปก่อนที่กองทัพซึ่งเป็นกองผสมของอดีตผู้บัญชาการอู่ ซานกุ่ยแห่งราชวงศ์หมิงและกองกำลังแมนจู จะเข้ายึดชิงบางส่วนของพระราชวังต้องห้ามคืน<ref>p. 3734, {{cite book|last=Wu|first=Han|authorlink=Wu Han (PRC)|title=朝鲜李朝实录中的中国史料 (Chinese historical material in the Annals of the Joseon Yi dynasty)|year=1980|publisher=Zhonghua Book Company|location=Beijing|id=CN / D829.312}}</ref>
 
ต่อมาในเดือนตุลาคม กองกำลังแมนจูประสบความสำเร็จอย่างสูงในภาคเหนือของจีน และมีการจัดพระราชพิธีบรมราชาภิเษกขึ้นที่พระราชวังต้องห้าม ในการประกาศการเสวยราชย์ของ[[จักรพรรดิซุ่นจื้อ|สมเด็จพระจักรพรรดิซุ่นจื้อ]]ในฐานะทรงปกครองแผ่นดินจีนทั้งหมดภายใต้[[ราชวงศ์ชิง]]<ref>{{cite news|first=Muoruo|last=Guo|authorlink=Guo Moruo|title=甲申三百年祭 (Commemorating 300th anniversary of the Jia-Sheng Year)|work=New China Daily|date=1944-03-20|language=Chinese}}</ref> ราชสำนักชิงมีการเปลี่ยนแปลงชื่อพระตำหนักบางองค์เพื่อเน้น "ความสามัคคี" มากกว่า "ความยิ่งใหญ่"<ref name="CCTV2"/> สร้าง[[ป้ายชื่อ]]สองภาษา (ภาษาจีนและ[[ภาษาแมนจู]])<ref>{{cite news|title=故宫外朝宫殿为何无满文? (Why is there no Manchu on the halls of the Outer Court?) |url=http://ha.people.com.cn/news/2006/06/16/109613.htm |work=People Net |date=2006-06-16 |accessdate=2007-07-12 |language=Chinese |deadurl=yes |archiveurl=https://web.archive.org/web/20081201185034/http://ha.people.com.cn/news/2006/06/16/109613.htm |archivedate=1 December 2008 |df=dmy }}</ref> และได้นำองค์ประกอบ[[เชมัน]]เข้าสู่พระราชวัง<ref>{{cite web|url=http://125.35.3.4/China/phoweb/BuildingPage/1/B488.htm |title=坤宁宫 (Palace of Earthly Tranquility) |accessdate=2007-07-12 |author=Zhou Suqin |publisher=The Palace Museum |language=Chinese |deadurl=yes |archiveurl=https://web.archive.org/web/20070929095215/http://125.35.3.4/China/phoweb/BuildingPage/1/B488.htm |archivedate=29 September 2007 |df=dmy }}</ref>
 
ในปี .ศ. 24031806 ระหว่าง[[สงครามฝิ่นครั้งที่สอง]] กองกำลังแองโกล-เฟรนซ์ได้เข้ามายึดครองพระราชวังต้องห้ามและครองไว้จนสิ้นสุดสงคราม<ref name="CCTV11">{{cite video|people=China Central Television, The Palace Museum|date=2005|url=http://www.cctv.com/history/special/C15041/01/index.shtml|title=Gugong: "XI. Flight of the National Treasures"|medium=Documentary|location=China|publisher=CCTV}}</ref> ในปี .ศ. 24431900 [[ซูสีไทเฮา|สมเด็จพระจักรพรรดินีฉือสี่ พระพันปีหลวง]]ทรงลี้ภัยออกจากพระราชวังต้องห้ามในช่วงที่เกิด[[กบฏนักมวย]] และทรงปล่อยให้พระราชวังต้องห้ามถูกยึดครองโดยกองกำลังตามอำนาจในสนธิสัญญาจนถึงปีถัดมา<ref name="CCTV11"/>
 
[[ไฟล์:Forbiddencity notopen06.JPG|thumb|ประตูตงหวาเหมินที่ถูกบูรณะปฏิสังขรณ์ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งในกระบวนการการบูรณะ 16 ปี]]
 
หลังจากที่พระราชวังต้องห้ามแห่งนี้เป็นที่ประทับของสมเด็จพระจักรพรรดิ 24 พระองค์ ในจำนวนนั้นเป็นสมเด็จพระจักรพรรดิแห่งราชวงศ์หมิง 14 พระองค์ และราชวงศ์ชิง 10 พระองค์ พระราชวังต้องห้ามถูกยุติการเป็นศูนย์กลางทางการเมืองของประเทศจีนลงในปี .ศ. 24551912 พร้อมกับการสละราชสมบัติของ[[จักรพรรดิผู่อี๋|สมเด็จพระจักรพรรดิผู่อี๋]] จักรพรรดิพระองค์สุดท้ายแห่งมหาจักรวรรดิจีน จากข้อตกลงกับรัฐบาลสาธารณรัฐจีนใหม่ อดีตสมเด็จพระจักรพรรดิผู่อี๋จะยังทรงประทับอยู่ภายในเขตพระราชฐานชั้นในได้ ในขณะที่เขตพระราชฐานชั้นนอกนั้นยกให้ใช้เป็นสาธารณะ<ref>p. 137, Yang (2003)</ref> จนกระทั่งอดีตสมเด็จพระจักรพรรดิผู่อี๋ทรงถูกขับออกจากพระราชวังต้องห้ามภายหลังการรัฐประหารในปี .ศ. 24671924<ref name="Yan4">{{cite book|last=Yan|first=Chongnian|authorlink=Yan Chongnian|title=正说清朝十二帝 (True Stories of the Twelve Qing Emperors)|url=http://culture.people.com.cn/GB/40472/55544/55547/55560/3875789.html|year=2004|publisher=Zhonghua Book Company|location=Beijing|isbn=7-101-04445-X|language=Chinese|chapter=国民—战犯—公民 (National – War criminal – Citizen)}}</ref> พิพิธภัณฑ์พระราชวังถูกก่อตั้งขึ้นในปี .ศ. 24681925<ref>{{cite news|author=Cao Kun|title=故宫X档案: 开院门票 掏五毛钱可劲逛 (Forbidden City X-Files: Opening admission 50 cents)|url=http://culture.people.com.cn/GB/22226/53974/53977/3750782.html|work=Beijing Legal Evening|publisher=People Net|date=2005-10-06|accessdate=2007-07-25|language=Chinese}}</ref> ในปี .ศ. 24761933 [[สงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สอง|การบุกรุกจีนของญี่ปุ่น]] ได้บังคับให้ย้ายสมบัติประจำชาติภายในพระราชวังต้องห้ามออกไป<ref>See map of the evacuation routes at: {{cite web|url=http://www.npm.gov.tw/en/administration/about/tradition.htm|title=National Palace Museum – Tradition & Continuity|accessdate=2007-05-01|publisher=National Palace Museum}}</ref> ส่วนหนึ่งของสมบัติถูกส่งกลับคืนเมื่อสิ้นสุด[[สงครามโลกครั้งที่สอง]]<ref>{{cite web|url=http://www.npm.gov.tw/en/administration/about/tradition.htm|title=National Palace Museum – Tradition & Continuity|accessdate=2007-05-01|publisher=National Palace Museum}}</ref> แต่อีกส่วนหนึ่งถูกอพยพไปยังไต้หวันในปี .ศ. 24911948 ภายใต้คำสั่งของ[[เจียง ไคเชก]] เมื่อ[[พรรคก๊กมินตั๋ง]]ปราชัยในสงครามกลางเมืองจีน สมบัติที่มีขนาดค่อนข้างเล็กแต่มีคุณภาพสูงถูกเก็บไว้จนถึงปี .ศ. 25081965 มันถูกนำมาจัดแสดงแก่สาธารณะอีกครั้ง เป็นสมบัติชิ้นหลักของ[[พิพิธภัณฑ์พระราชวังแห่งชาติ]]ใน[[ไทเป]]<ref name="Three">{{cite news|title=三大院长南京说文物 (Three museum directors talk artefacts in Nanjing)|url=http://www.people.com.cn/GB/paper447/10416/949293.html|work=Jiangnan Times|publisher=People Net|date=2003-10-19|accessdate=2007-07-05|language=Chinese|deadurl=yes|archiveurl=https://web.archive.org/web/20081201133727/http://www.people.com.cn/GB/paper447/10416/949293.html|archivedate=1 December 2008|df=dmy-all}}</ref>
 
หลังจากการก่อตั้งสาธารณรัฐประชาชนจีนในปี .ศ. 24921949 ความเสียหายบางประการได้เกิดขึ้นกับพระราชวังต้องห้ามเนื่องจากถูกกวาดล้างในการปฏิวัติที่กระตือรือร้นจนเกินไป<ref>{{cite news|first=Jie|last=Chen|title=故宫曾有多种可怕改造方案 (Several horrifying reconstruction proposals had been made for the Forbidden City)|url=http://news.eastday.com/eastday/node81741/node81803/node112035/userobject1ai1829390.html|work=Yangcheng Evening News|publisher=Eastday|date=2006-02-04|accessdate=2007-05-01|language=Chinese}}</ref> ในช่วงของ[[การปฏิวัติทางวัฒนธรรม]] อย่างไรก็ตาม การทำลายล้างเพิ่มเติมถูกป้องกันเมื่อนายกรัฐมนตรี[[โจว เอินไหล]]ส่งกองทัพออกไปปกป้องพระราชวังต้องห้าม<ref>{{cite news|first=Yinming|last=Xie|author2=Qu, Wanlin|title="文化大革命"中谁保护了故宫 (Who protected the Forbidden City in the Cultural Revolution?)|url=http://cpc.people.com.cn/GB/68742/69115/69120/5005812.html|work=CPC Documents|publisher=People Net|date=2006-11-07|accessdate=2007-07-25|language=Chinese}}</ref>
 
พระราชวังต้องห้ามถูกประกาศเป็น[[มรดกโลก]]เมื่อปี .ศ. 25301987 โดย[[ยูเนสโก]] ในชื่อ "พระราชวังแห่งราชวงศ์หมิงและราชวงศ์ชิง"<ref>The Forbidden City was listed as the "[http://whc.unesco.org/archive/advisory_body_evaluation/439.pdf Imperial Palace of the Ming and Qing Dynasties]" (Official Document). In 2004, [[Mukden Palace]] in [[Shenyang]] was added as an extension item to the property, which then became known as "Imperial Palaces of the Ming and Qing Dynasties in Beijing and Shenyang": {{cite web|url=http://whc.unesco.org/en/list/439|title=UNESCO World Heritage List: Imperial Palaces of the Ming and Qing Dynasties in Beijing and Shenyang|accessdate=2007-05-04}}</ref> เนื่องจากเป็นสถานที่ที่มีความสำคัญในการพัฒนาของสถาปัตยกรรมและวัฒนธรรมจีน ซึ่งปัจจุบันอยู่ภายใต้การดูแลของพิพิธภัณฑ์พระราชวัง ซึ่งมีการดำเนินโครงการการบูรณะสิบหกปี เพื่อซ่อมแซมและบูรณะอาคารทั้งหมดภายในพระราชวังต้องห้ามให้กลับไปอยู่ในสภาพก่อนปี .ศ. 24551912<ref>{{cite web|url=http://gjdx.dpm.org.cn/ |title=Forbidden City restoration project website |accessdate=2007-05-03 |author=Palace Museum |deadurl=yes |archiveurl=https://web.archive.org/web/20070421023644/http://gjdx.dpm.org.cn/ |archivedate=21 April 2007 |df=dmy }}</ref>
 
ในปัจจุบันนี้การแสดงตัวขององค์กรการค้าในพระราชวังต้องห้ามกำลังก่อให้เกิดการโต้แย้ง<ref>{{cite news|title=闾丘露薇:星巴克怎么进的故宫? (Luqiu Luwei: How did Starbucks get into the Forbidden City)|url=http://culture.people.com.cn/GB/27296/5290184.html|publisher=People Net|date=2007-01-16|accessdate=2007-07-25|language=Chinese}}; see also the original blog post here [http://blog.sina.com.cn/u/46e9d5da01000694] (in Chinese).</ref> ร้าน[[สตาร์บัคส์]]ถูกเปิดเมื่อปี .ศ. 25432000 จุดประกายความรู้สึกไม่เห็นด้วยและในที่สุดก็ถูกปิดร้านในวันที่ 13 กรกฎาคม .ศ. 25502007<ref>{{cite news|author=Mellissa Allison|title=Starbucks closes Forbidden City store|url=http://seattletimes.nwsource.com/html/businesstechnology/2003788095_webstarbucks13.html|publisher=The Seattle Times|date=2007-07-13|accessdate=2007-07-14}}</ref><ref>{{cite news|author=Reuters |title=Starbucks brews storm in China's Forbidden City |url=http://archives.cnn.com/2000/FOOD/news/12/11/china.starbucks.reut/ |publisher=CNN |date=2000-12-11 |accessdate=2007-05-01 |deadurl=yes |archiveurl=https://web.archive.org/web/20070502100933/http://archives.cnn.com/2000/FOOD/news/12/11/china.starbucks.reut/ |archivedate=2 May 2007 |df=dmy }}</ref> สื่อจีนยังมีการแจ้งว่ามีร้านขายของที่ระลึก 2 แห่งซึ่งปฏิเสธชาวจีนและยอมรับเงินจากชาวต่างชาติในปี .ศ. 25492006<ref>{{cite news|title=Two stores inside Forbidden City refuse entry to Chinese nationals|url=http://news.xinhuanet.com/society/2006-08/23/content_4995055.htm|publisher=Xinhua Net|date=2006-08-23|accessdate=2007-05-01|language=Chinese|deadurl=yes|archiveurl=https://web.archive.org/web/20090113150824/http://news.xinhuanet.com/society/2006-08/23/content_4995055.htm|archivedate=13 January 2009|df=dmy-all}}</ref>
 
ในวันที่ 8 พฤศจิกายน .ศ. 25602017 [[โดนัลด์ ทรัมป์]] [[ประธานาธิบดีสหรัฐ]] เป็นประธานาธิบดีคนแรกของสหรัฐที่ได้รับการเลี้ยงรับรองอาหารค่ำในพระราชวังต้องห้าม นับตั้งแต่มีการก่อตั้งสาธารณรัฐประชาชนจีนมา<ref>{{cite news|title=President Trump granted rare dinner in China's Forbidden City|url=http://www.nydailynews.com/news/world/president-trump-granted-rare-dinner-china-forbidden-city-article-1.3618735|date=8 November 2017}}</ref>
 
== โครงสร้างและสถาปัตยกรรม ==
[[ไฟล์:The Forbidden City - View from Coal Hill.jpg|thumb|left|พระราชวังต้องห้ามเมื่อมองจากเนินเขาจิ้งชาน]]
[[ไฟล์:Forbidden city map wp 1.png|thumb|350px|แปลนของพระราชวังต้องห้าม
บรรทัด 123:
พระราชวังต้องห้ามนั้นยังคงมีความสำคัญในโครงการเทศบาลของปักกิ่ง แกนแนวกลาง เหนือ–ใต้ที่เหลืออยู่ในแกนกลางของปักกิ่ง แกนนี้ขยายออกไปทางใต้จนถึงประตูเทียนอันเหมินไปยัง[[จตุรัสเทียนอันเหมิน]] ซึ่งเป็นลานประชาชนของสาธารณรัฐประชาชนจีน และยาวไปจนถึง[[ประตูหย่งติ้ง]] ส่วนทางด้านเหนือขยายไปจนถึง[[สวนจิ่งชาน|เนินเขาจิ่งชาน]] ถึง[[กู่โหลวและจ่งโหลว|หอระฆังและกลอง]]<ref>{{cite news|title=北京确立城市发展脉络 重塑7.8公里中轴线 (Beijing to establish civic development network; Recreating 7.8&nbsp;km central axis)|url=http://house.people.com.cn/chengshi/20060530/article_5338.html|publisher=People Net|date=2006-05-30|accessdate=2007-07-05|language=Chinese}}</ref> แกนนี้ไม่ได้ขยายไปในแนวเหนือใต้ตรง ๆ แต่มีความเอียงเล็กน้อยสององศา การศึกษาเชื่อว่าแกนนี้ถูกออกแบบในสมัย[[ราชวงศ์หยวน]]เพื่อให้สอดคล้องกับ[[แหล่งแซนาดู]] ซึ่งเป็นเมืองหลวงแห่งอื่นของอาณาจักร<ref>{{cite news|first=Feng|last=Pan|title=探秘北京中轴线 (Exploring the mystery of Beijing's Central Axis)|url=http://www.cas.ac.cn/html/Dir/2005/03/02/5202.htm|work=Science Times|publisher=[[Chinese Academy of Sciences]]|date=2005-03-02|accessdate=2007-10-19|language=Chinese|archiveurl = https://web.archive.org/web/20071211101908/http://www.cas.ac.cn/html/Dir/2005/03/02/5202.htm |archivedate = 2007-12-11|deadurl=yes}}</ref>
 
=== กำแพงและประตูวัง ===
[[ไฟล์:Meridian Gate, Beijing.jpg|thumb|left|[[ประตูอู่เหมิน]] ทางเข้าด้านหน้าของพระราชวังต้องห้าม โดยมีปีกยื่นออกมาทั้งสองด้าน]]
[[ไฟล์:Forbiden city-Beijing-China - panoramio (18).jpg|thumb|left|ภาพมุมใกล้ของปีกด้านซ้ายของประตูอู่เหมิน]]
บรรทัด 148:
-->
 
=== เขตพระราชฐานชั้นนอก ===
[[ไฟล์:北京故宫2.JPG|thumb|แม่น้ำน้ำสีทอง (The Golden Water River) เป็นกระแสน้ำเทียมที่ไหลไปทั่วพระราชวังต้องห้าม]]
[[ไฟล์:Gfp-beijing-far-off-view-of-one-of-the-pavilions.jpg|thumb|left|[[ประตูไถ่เหอเหมิน]]]]
บรรทัด 168:
บันไดตรงกลางที่ตรงขึ้นสู่แท่นจากด้านเหนือและด้านใต้เป็นบันไดพระราชพิธี เป็นส่วนหนึ่งของเส้นทางเสด็จพระราชดำเนินของฮ่องเต้ โดยมีรูปแกะสลักนูนต่ำประดับอยู่ บันไดด้านเหนืออยู่ด้านหลังพระตำหนักเป่าเหอ ตัวบันไดแกะสลักขึ้นจากหินชิ้นเดียวขนาดยาว 16.57 เมตร กว้าง 3.07 เมตร และหนา 1.7 เมตร มีน้ำหนัก 200 ตันเศษและเป็นวัตถุแกะสลักขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศจีน<ref name="Yang 15"/> บันไดด้านใต้อยู่ด้านหน้าของพระตำหนักไถ่เหอ มีความยาวกว่า แต่ประกอบจากหินสองชิ้นเชื่อมกันด้วยคอนกรีต รอยต่อถูกซ่อนไว้อย่างชาญฉลาดโดยใช้การแกะสลักนูนต่ำที่ทับซ้อนกัน ถูกค้นพบจากการผุพังที่ทำให้ช่องว่างนั้นขยายขึ้นในศตวรรษที่ 20<ref name="Yu 213">For an explanation and illustration of the joint, see p. 213, Yu (1984)</ref>
 
ด้านใต้ฝั่งตะวันตกและด้านใต้ฝั่งตะวันออกของเขตพระราชฐานชั้นนอกเป็นพระตำหนักอู่หยิง (H) และพระตำหนักเหวินฮวา (J) ซึ่งในอดีตเคยถูกใช้สำหรับฮ่องเต้ทรงเสด็จออกรับเหล่ารัฐมนตรีและการเปิดศาล ต่อมาถูกเปลี่ยนเป็นที่ตั้งของโรงพิมพ์ในพระราชวัง อีกพระตำหนักถูกใช้เป็นสถานที่บรรยายพิธีการทางศาสนาโดยนักพรตขงจื้อขั้นสูงที่ได้รับการยกย่อง และต่อมาถูกเปลี่ยนเป็นสำนักงานราชเลขาธิการ สำเนาของหนังสือ''[[ซื่อคูเฉียนชู]]''ถูกเก็บรักษาไว้ที่นี่ ส่วนด้านเหนือฝั่งตะวันออกเป็นหมู่พระที่นั่งหน่านซัน (หมู่พระที่นั่งไตรทักษิณา) ({{linktext|南|三|所}}) (K) ซึ่งเป็นที่ประทับขององค์รัชทายาท<ref name="Yu 49">p. 49, Yu (1984)</ref>
 
<!--
วังหน้ามี 3 พระตำหนัก เป็นศูนย์กลางที่สร้างอยู่บนเส้นแกนตรงกันเป็นเส้นตรง ดังนี้
1.พระตำหนักไถ่เหอ เป็นพระตำหนักด้านหน้าที่สำคัญที่สุดและใหญ่ที่สุดในพระราชวังหลวง ตั้งอยู่บนแท่นหินหยกขาวยกพื้นสูง 2 เมตรเศษ ล้อมรอบด้วยรั้วหินหยกขาว แกะสลักเป็นเมฆ มังกร และหงส์ สร้างในปี ค.ศ. 1420 สมัยของ[[จักรพรรดิหย่งเล่อ|สมเด็จพระจักรพรรดิหย่งเล่อ]] กว้าง 11 เมตร ลึก 5 เมตร หลังคาซ้อน 2 ชั้น สูง 35 เมตร พื้นที่ 2,377 ตารางเมตร ปูด้วยอิฐ (ที่นวดด้วยแป้งทองคำ) ตรงกลางมีพระราชบัลลังก์มังกรทองคำ (มังกร 5 เล็บ สัญลักษณ์ขององค์ฮ่องเต้อันสูงส่ง) ใช้เป็นสถานที่ ที่องค์ฮ่องเต้ออกว่าราชการแผ่นดินรับการเข้าเฝ้าจากขุนนางขุนศึก ต้อนรับแขกบ้านแขกเมืองและพระราชอาคันตุกะชาวต่างประเทศ หลังคามุงกระเบื้องสีทอง (สีเฉพาะขององค์ฮ่องเต้เท่านั้น)
2.พระตำหนักจงเหอ เป็นพระตำหนักองค์ที่ 2 อยู่ด้านหลังพระตำหนักไถ่เหอ เป็นรูปทรงสี่เหลี่ยมมียอดแหลม ใช้เป็นสถานที่พักรอก่อนออกว่าราชการแผ่นดิน รับการรายงานจากข้าหลวงชั้นใน รวมทั้งพิธีการจัดงานเข้าเฝ้า หากมีงานพระราชพิธีแต่งตั้งสมเด็จพระจักรพรรดินีและจัดงานใหญ่ในพระราชวังจะต้องตรวจเอกสารความเรียบร้อยของงาน ณ พระตำหนักแห่งนี้ล่วงหน้า 1 วัน
3.พระตำหนักเป่าเหอ เป็นพระตำหนักองค์ที่ 3 อยู่หลังพระตำหนักจงเหอ เป็นพระตำหนักใหญ่ มีพื้นที่เท่ากับพระตำหนักไถ่เหอ ภายในมีพระราชบัลลังก์มังกรทองคำก่อสร้างโดยไม่มีเสาแถวที่ 2 ทำให้ห้องโถงด้านหน้าท้องพระโรงกว้างขึ้น ไม่บังสายพระเนตรพระองค์ฮ่องเต้ ใช้เป็นสถานที่จัดงานเลี้ยงรับรองบรรดาหัวหน้าชนเผ่ากลุ่มน้อยต่างๆทุกปี ในวันที่ 30 เดือน 12 (วันสิ้นปีของจีน) พระราชพิธีราชาภิเษกสมรสขององค์ฮ่องเต้หรือพระราชโอรสธิดา มาถึงในสมัย[[จักรพรรดิเฉียนหลง|สมเด็จพระจักรพรรดิเฉียนหลง]]ใช้ที่นี่เป็นสถานที่สอบจอหงวน องค์ฮ่องเต้เป็นผู้ออกข้อสอบและคุมสอบด้วยพระองค์เอง โดยสอบในท้องพระโรงแห่งนี้
-->
 
=== เขตพระราชฐานชั้นใน ===
เขตพระราชฐานชั้นในเป็นส่วนที่แยกออกจากเขตพระราชฐานชั้นนอกโดยลานรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าที่ตั้งฉากกับแกนหลักของพระนครต้องห้าม เป็นที่ประทับขององค์ฮ่องเต้และพระบรมวงศานุวงศ์ของพระองค์ ในสมัยราชวงศ์ชิง สมเด็จพระจักรพรรดิจะทรงประทับและทรงงานเกือบเฉพาะแค่ในเขตพระราชฐานชั้นในเท่านั้น โดยจะทรงเสด็จออกยังเขตพระราชฐานชั้นนอกเพียงแค่เฉพาะในการพระราชพิธีเท่านั้น<ref name="Yu 73">p. 73, Yu (1984)</ref>
 
==== หมู่พระที่นั่งสามองค์ด้านหลัง ====
ที่ตรงกลางของเขตพระราชฐานชั้นในนั้นมีพระที่นั่งและพระตำหนักรวมสามองค์ (L) ประกอบด้วย (นับจากทางใต้)
* [[พระที่นั่งเฉียนชิง]] (พระที่นั่งสุทไธสวรรค์) ({{linktext|乾|清|宮}})
บรรทัด 202:
ทางตะวันตกของหมู่พระที่นั่งเป็น [[พระตำหนักหยางซิน]] (พระตำหนักจิตพัฒน์) (N) เดิมเป็นพระที่นั่งองค์รอง แต่กลายมาเป็นที่ประทับและทรงงานของสมเด็จพระจักรพรรดิโดยพฤตินัย ตั้งแต่รัชสมัยของ[[จักรพรรดิยงเจิ้ง|สมเด็จพระจักรพรรดิยงเจิ้ง]] ในช่วงทศวรรษสุดท้ายของราชวงศ์ชิง [[ซูสีไทเฮา|สมเด็จพระจักรพรรดินีฉือสี่ พระพันปีหลวง]] ได้ทรงใช้เขตทางตะวันออกของพระตำหนักองค์นี้ พระตำหนักองค์นี้รายล้อมด้วยสำนักงาน[[กรมความลับทหาร]]และหน่วยงานสำคัญของรัฐบาล<ref name="Yu 87">p. 87, Yu (1984)</ref>
 
ทางตะวันออกเฉียงเหนือของหมู่พระที่นั่งเป็นที่ตั้งของ พระที่นั่งเฉียนหลง (พระที่นั่งอายุสันติสุข) ({{linktext|寧|壽|宮}}) (O) เป็นพระที่นั่งที่มีความซับซ้อน สร้างขึ้นโดย[[จักรพรรดิเฉียนหลง|สมเด็จพระจักรพรรดิเฉียนหลง]] โดยทรงโปรดเกล้าฯ จะให้เป็นที่ประทับเมื่อทรงสละราชสมบัติแล้ว พระที่นั่งองค์นี้สะท้อนการสร้างพระราชวังต้องห้ามได้อย่างเหมาะสมและมีการแบ่ง "เขตพระราชฐานชั้นนอก" "เขตพระราชฐานชั้นใน" และพระราชอุทยานกับวัดหลวงอย่างชัดเจน ทางเข้าของพระที่นั่งเฉียนหลงมีกำแพงซึ่งประดับด้วยกระเบื้องเคลือบเป็นลาย[[ผนังเก้ามังกร]]<ref name="Yu 115">p. 115, Yu (1984)</ref> ส่วนนี้ของพระราชวังต้องห้ามถูกบูรณะขึ้นโดยความร่วมมือกันระหว่างพิพิธภัณฑ์พระราชวังและ[[กองทุนอนุสาวรีย์โลก]] มีกำหนดแล้วเสร็จในปี .ศ. 25602017<ref>{{cite web|url=http://www.wmf.org/sites/default/files/wmf_article/pg_12-17_qianlong_layout.pdf |title=Restoring an Intimate Splendor |author=Powell, Eric |publisher=[[World Monuments Fund]] |deadurl=yes |archiveurl=https://web.archive.org/web/20110516181709/http://www.wmf.org/sites/default/files/wmf_article/pg_12-17_qianlong_layout.pdf |archivedate=16 May 2011 |df=dmy }}</ref>
 
==== หมู่ตำหนักหกองค์ฝั่งตะวันตก ====
* ตำหนักย่งโช่ว หรือ ตำหนักอายุนิรันดร์ (永寿宫)
* ตำหนักไท่จี๋ หรือ ตำหนักหลักอันสูงส่งยิ่ง (太极殿)
* ตำหนักฉางชุน หรือ ตำหนักวสันตนิรันดร์ (长春宫)
* ตำหนักอี้คุน หรือ ตำหนักโลกาสรรเสริญ (翊坤宫)
* ตำหนักฉู่ชิ่ว หรือ ตำหนักรวมประณีต (储秀宫)
* ตำหนักเสียนฝู หรือ พระที่นั่งสากลสุข (咸福宫)
 
==== หมู่ตำหนักหกองค์ฝั่งตะวันออก ====
* ตำหนักจิ่งเหริน หรือ ตำหนักมหากรุณา (景仁宫)
* ตำหนักเฉิงเฉียน หรือ ตำหนักสวรรค์กรุณา (承乾宫)
* ตำหนักจงชุ่ย หรือ ตำหนักสุธไธสม (锺粹宫)
* ตำหนักเหยียนสี่ หรือ ตำหนักเจียรสุข (延禧宫)
* ตำหนักจิ่งหยาง หรือ ตำหนักมหาโอภาส (景阳宫)
* ตำหนักย่งเหอ หรือ ตำหนักบรรสารนิรันดร์ (永和宫)
 
<!--
• เขตพระราชฐานชั้นใน (วังใน) ประกอบด้วยพระตำหนักเฉียนชิงกง พระตำหนักเจียวไถ่เตี่ยน พระตำหนักคุนหมิงกง พระตำหนักตะวันออกและตะวันตก เป็นสถานที่ที่องค์ฮ่องเต้ปฏิบัติพระราชกรณียกิจประจำวันทางการเมือง อาทิ ทรงตรวจเอกสาร ทรงลงพระปรมาภิไธยอนุมัติ ทรงตัดสินความ และเป็นสถานที่ประทับของสมเด็จพระจักรพรรดินี พระราชวงศ์ พระสนม พระราชโอรส และพระราชธิดา รวมไปถึงมีพระราชอุทยานหลวงขององค์ฮ่องเต้ เขตวังในจะมีพระตำหนักที่มีความสำคัญอยู่ 2 องค์คือ
• พระตำหนักเฉียนชิงกง เป็นพระตำหนักด้านหน้าของวังใน เป็นที่ประทับของฮ่องเต้ เพื่อตรวจเอกสารลงพระปรมาภิไธยอนุมัติราชการแผ่นดินประจำวัน ต่อมาในปี ค.ศ. 1644 ทหารและชาวนาของหลี่จื้อเฉินทำการปฏิวัติ นำกำลังบุกเข้ากรุงปักกิ่ง ซึ่งตรงกับรัชกาลฮ่องเต้องค์สุดท้ายแห่งราชวงศ์หมิง [[จักรพรรดิฉงเจิน|สมเด็จพระจักรพรรดิฉงเจิน]]ทรงชักพระแสงกระบี่ฟันพระราชธิดาของพระองค์จนขาดสะพายแล่ง แล้วทรงหนีออกจากพระราชวังไปแขวนพระศอสวรรคตที่ต้นสน ณ ภูเขาเหมยซาน (ปัจจุบันเรียกว่า ภูเขาจิ่งซาน) ซึ่งอยู่ด้านหลังพระราชวังหลวง
• พระตำหนักหย่างซินเตี้ยน เป็นพระตำหนักอยู่บริเวณด้านตะวันตกเฉียงใต้ของวังใน เป็นที่ประทับขององค์ฮ่องเต้ นัดพบปะพูดคุยกับพวกข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ ทั้งเรื่องการเมืองและการทหารในรัชสมัย[[จักรพรรดิถงจื้อ|สมเด็จพระจักรพรรดิถงจื้อ]]และ[[จักรพรรดิกวังซฺวี่|สมเด็จพระจักรพรรดิกวังซฺวี่]]ใช้เป็นสถานที่ออกว่าราชการหลังม่านของ[[พระนางซูสีไทเฮา]] รวมทั้งในสมัยฮ่องเต้องค์สุด
ท้าย เมื่อครั้งที่ ดร.ซุนยัดเซ็นทำการปฏิวัติ [[จักรพรรดิผู่อี๋|สมเด็จพระจักรพรรดิผู่อี๋]]ก็ทรงสละราชบัลลังก์ในปี ค.ศ. 1962 ณ พระตำหนักองค์นี้
-->
 
=== ความเชื่อทางศาสนา ===
[[ไฟล์:故宫乾清门椽子万寿彩画.JPG|thumb|รูปแบบลวดลาย[[สวัสติกะ]]และ[[โชว (ตัวอักษร)|การมีอายุยืน]] การออกแบบในลักษณะนี้สามารถพบได้ทั่วทั้งพระราชวังต้องห้าม]]
ความเชื่อทางศาสนาเป็นส่วนสำคัญของชีวิตในราชสำนัก ในราชวงศ์ชิง พระที่นั่งคุนหนิง ถูกใช้เป็นสถานที่ในการพระราชพิธีแบบ[[เชมัน]] ในขณะเดียวกันศาสนาประจำชนชาติจีนอย่าง [[เต๋า]] ก็ยังมีบทบาทสำคัญตลอดทั้งราชวงศ์หมิงและชิง มีศาลเจ้าในลัทธิเต๋าอยู่สองศาล ศาลหนึ่งอยู่ภายในพระราชอุทยานหลวงและอีกศาลหนึ่งอยู่บริเวณส่วนกลางของเขตพระราชฐานชั้นใน<ref name="Yu 176">p. 176, Yu (1984)</ref>
บรรทัด 233:
อีกศาสนาหนึ่งในสมัยราชวงศ์ชิงคือ[[ศาสนาพุทธ]] จึงปรากฏวัดและศาลเจ้ากระจายอยู่ทั่วทั้งเขตพระราชฐานชั้นใน รวมถึง[[ศาสนาพุทธแบบทิเบต]]ด้วย พุทธศาสนศาสตร์ยังแพร่หลายไปในการตกแต่งอาคารหลายหลังด้วย<ref name="Yu 177">p. 177, Yu (1984)</ref> ในบรรดาอาคารเหล่านั้น พลับพลาพิรุณมาลา (Pavilion of the Rain of Flowers) เป็นหนึ่งในอาคารที่สำคัญที่สุด ซึ่งเป็นพลับพลาที่ประดิษฐานพระพุทธรูป พุทธสัญลักษณ์ และ[[แมนดาลา]]จำนวนมาก ซึ่งมีไว้เพื่อการพิธีทางศาสนา<ref name="Yu 189-193">pp. 189–193, Yu (1984)</ref>
 
=== การล้อมรอบ ===
{{โครงส่วน}}
 
=== สัญลักษณ์นิยม ===
{{multiple image
| align = right
| total_width = 400
| image_style = border:none;
 
| image1 = Palace color decorative painting.JPG
| alt1 =
| caption1 = พระราชวังหลวงซึ่งตกแต่งด้วยจิตรกรรมสี
 
| image2 = HighStatusRoofDeco.jpg
| alt2 =
| caption2 = [[การตกแต่งหลังคาในวังหลวง]]ด้วยรูปปั้นเครื่องสูงบนสันของหลังคาที่พระตำหนักไถ่เหอ
}}
การออกแบบพระราชวังต้องห้าม จากภาพรวมไปจนถึงรายละเอียดที่เล็กที่สุด ล้วนถูกวางแผนมาอย่างพิถีพิถันเพื่อสะท้อนหลักทางปรัชญาและศาสนา และเหนือสิ่งอื่นใดเพื่อเป็นสัญลักษณ์แห่งพระราชอำนาจของสมเด็จพระจักรพรรดิ มีการตั้งข้อสังเกตการออกแบบสัญลักษณ์บางอย่างประกอบด้วย
* การใช้สีเหลืองเพื่อสื่อถึงองค์ฮ่องเต้ ดังนั้นเกือบทุกหลังคาในพระราชวังต้องห้ามจะปูด้วยกระเบื้องเคลือบสีเหลือง ยกเว้นเพียงสองอาคารคือ หอพระสมุดที่พลับพลาเหวินยวน ({{linktext|文|渊|阁}}) ซึ่งเป็นสีดำ เพราะสีดำมีส่วนเกี่ยวข้องกับ[[อู่ซิง|ธาตุน้ำ]] เพื่อป้องกันการเกิดอัคคีภัย และที่ที่ประทับขององค์รัชทายาทที่ใช้สีเขียว เพราะเกี่ยวข้องกับ[[อู่ซิง|ธาตุดิน]] เพื่อการเติบโต<ref name="DPM Elements"/>
* พระตำหนักองค์หลักในเขตพระราชฐานชั้นนอกและชั้นในถูกจัดเรียงเป็นกลุ่ม กลุ่มละสามองค์ เป็นรูปทรงของ[[ปากั๋ว|เฉียน]] เป็นตัวแทนของสวรรค์ ส่วนที่ประทับในเขตพระราชฐานชั้นใน ในแต่ละด้านถูกจัดเป็นกลุ่ม กลุ่มละหกองค์ เป็นรูปทรงของ[[ปากั๋ว|คุน]] เป็นตัวแทนของโลกมนุษย์<ref name="CCTV2"/>
* สันหลังคาที่ลาดเอียงของอาคารถูกตกแต่งด้วย[[การตกแต่งหลังคาในวังหลวง|รูปปั้นเรียงกัน]] เริ่มต้นจากชายที่ขี่นกอมตะและตามด้วย[[มังกรจีน|มังกรแห่งองค์จักรพรรดิ]] จำนวนของรูปปั้นเป็นตัวแทนของสถานะอาคาร อาคารองค์รองลงมาอาจจะมีรูปปั้น 3 หรือ 5 ตัว ส่วนพระตำหนักไถ่เหอมีรูปปั้น 10 ตัว ซึ่งเป็นพระตำหนักหลังเดียวในประเทศที่ได้รับพระบรมราชานุญาตจากสมเด็จพระจักรพรรดิในขณะนั้น ผลที่ตามมาคือ รูปปั้นตัวที่ 10 เรียกว่า "''หั่งชือ''" หรือ "อันดับที่สิบ" ({{zh|c={{linktext|行|十}}|p=Hángshí}})<ref name="CCTV3">{{cite video|people=China Central Television, The Palace Museum|date=2005|url=http://www.cctv.com/history/special/C15041/01/index.shtml|title=Gugong: "III. Rites under Heaven "|medium=Documentary|location=China|publisher=CCTV}}</ref> และยังเป็นเอกลักษณ์เฉพาะของพระราชวังต้องห้ามด้วย<ref>{{cite web|url=http://www.dpm.org.cn/ |title=Hall of Supreme Harmony |accessdate=2007-07-05 |author=The Palace Museum |language=Chinese |deadurl=yes |archiveurl=https://web.archive.org/web/20070701213540/http://www.dpm.org.cn/ |archivedate=1 July 2007 |df=dmy }}</ref>
* เค้าโครงของอาคารโบราณถูกวางไว้เพื่อก่อสร้างตาม''[[หนังสือแห่งพิธีกรรม|ต้นแบบแห่งพิธีกรรม]]'' ดังนั้นจึงมีการตั้งวัดหลวงสืบต่อมาจากบรรพบุรุษที่ด้านหน้าของพระราชวัง ส่วนพระคลังหลวงถูกวางไว้บริเวณส่วนหน้าของพระราชวังอันซับซ้อน และส่วนที่ประทับขององค์ฮ่องเต้อยู่ด้านหลัง<ref>{{cite journal|last=Steinhardt|first=Nancy Shatzman|date=Dec 1986|title=Why were Chang'an and Beijing so different?|journal=The Journal of the Society of Architectural Historians|volume=45|issue=4|pages=339–357|doi=10.2307/990206|jstor=990206}}</ref>
 
== เหตุผลที่ได้รับคัดเลือกเป็นมรดกโลก ==
พระราชวังต้องห้ามได้ลงทะเบียนเป็นมรดกโลกในการประชุมคณะกรรมการมรดกโลกสมัยสามัญครั้งที่ 11 เมื่อปี .ศ. 25301987 ที่[[ปารีส|กรุงปารีส]] [[ประเทศฝรั่งเศส]] และต่อมาในปี .ศ. 25472004 พระราชวังเสิ่นหยาง พระราชวังพักตากอากาศของ[[รายพระนามจักรพรรดิแห่งราชวงศ์ชิง|สมเด็จพระจักรพรรดิแห่งราชวงศ์ชิง]] ได้ลงทะเบียนร่วมกับพระราชวังต้องห้ามภายใต้ชื่อ "พระราชวังแห่งราชวงศ์หมิงและราชวงศ์ชิงในปักกิ่งและเสิ่นหยาง" ด้วย[[มรดกโลก#ข้อกำหนดและหลักเกณฑ์ในการพิจารณาให้เป็นแหล่งมรดกโลก|ข้อกำหนดและหลักเกณฑ์ในการพิจารณา]] ดังต่อไปนี้
* ''' (i) ''' - เป็นตัวแทนในการแสดงผลงานชิ้นเอกที่จัดทำขึ้นด้วยการสร้างสรรค์อันชาญฉลาดของมนุษย์
* ''' (ii) ''' - เป็นสิ่งที่มีอิทธิพลยิ่ง ผลักดันให้เกิดการพัฒนาสืบต่อมาในด้านการออกแบบทางสถาปัตยกรรม อนุสรณ์สถาน ประติมากรรม สวน และภูมิทัศน์ ตลอดจนการพัฒนาศิลปกรรมที่เกี่ยวข้อง หรือการพัฒนาการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์ ซึ่งได้เกิดขึ้นในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง หรือบนพื้นที่ใด ๆ ของโลกซึ่งทรงไว้ซึ่งวัฒนธรรม